++

...+

Theขี้ฝุ่นริมทาง

วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ชวนคุณพอคุณแมไปไหวพระ

Page 1

ชวนคุณพอคุณแมไปไหวพระ
ที่ปรึกษา: พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต)
ออกแบบปก: พระชัยยศ พุทฺธิวโร
เรื่อง: ชาคริต อาชวอํารุง, ปติมา รัชตะวรรณ
ภาพประกอบ: พันยมนต อมรนิมิตร
รูปเลม: กนกศักดิ์ รัชตะวรรณ
ISBN 978-974-13-3972-3
พิมพครั้งที่ ๑ – ธันวาคม ๒๕๕๐
จํานวนพิมพ
พิมพที่ บริษัท พิมพสวย จํากัด
๕/๕ ถ.เทศบาลรังสฤษฎเหนือ แขวงลาดยาว
เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐
โทร ๐ ๒๙๕๓-๙๖๐๐ โทรสาร ๐ ๒๙๕๓-๙๖๐๖
หากตองการหนังสือเลมนี้เพื่อแจกเปนธรรมทาน กรุณาติดตอ
วัดญาณเวศกวัน
ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๑๐
โทร ๐ ๒๘๘๙-๔๓๙๖, ๐ ๒๔๔๑-๙๑๐๓
Page 2
คํานํา
ผมและคณะผูจัดทําตองขอแสดงความขอบคุณและอนุโมทนา ญาติโยมผูมีจิตศรัทธาในพระพุทธศาสนาทุกทานที่ให
การตอนรับและสนับสนุนการพิมพหนังสือเผยแพรพระพุทธศาสนาใหกับเด็กๆ ที่ผมและคณะไดจัดทําขึ้น จนถึงตอนนี้หนังสือ
เรื่อง “วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา” และเรื่อง “วัดของหนู” ไดถูกพิมพและแจกออกไปแลวหลายหมื่นเลมใหกับเด็กทั่วประเทศ
หนังสือเลมนี้เปนเลมที่ ๓ โดยเรื่อง “ชวนคุณพอคุณแมไปไหวพระ” นี้ ถูกทําขึ้นเพื่อใหผูอานเกิดความรูและความ
เขาใจเกี่ยวกับพระพุทธรูป ซึ่งเปนวัตถุที่สําคัญที่สุดอยางหนึ่งในพระพุทธศาสนา ผมยังจําไดวาเมื่อตอนเด็กๆ ที่บานและที่
โรงเรียนก็จะจัดใหไปไหวพระองคสําคัญๆ ตางๆ เชนพระแกวมรกต ที่วัดพระแกว, พระพุทธชินราช ที่จังหวัดพิษณุโลก หรือ
หลวงพอโสธรที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ก็จะเกิดความรูสึกวาองคพระนั้นมีความงดงามมาก และจะสงสัยวาที่ผูใหญบอกกันวาองคนี้
เปนพระพุทธรูปปางสมาธิหรือปางมารวิชัยนั้น มีความหมายและที่มาอยางไร ผมเชื่อวาเด็กหลายๆคนคงจะมีคําถามเหลานี้อยู แต
ไมรูจะไปหาคําตอบไดที่ไหน
ผมตองขอกราบขอบพระคุณทานพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) ที่เมตตาสละเวลาของทาน ใหขอมูลและ
คําแนะนําเรื่องของประวัติศาสตรและความเปนมาของการทําพระพุทธรูป และทานพระครูปลัดสุวัฒนพรหมคุณ (อินศร จินฺตาปฺ
โญ) ที่ใหขอมูลเกี่ยวกับพระพุทธรูปองคสําคัญตางๆ ในประเทศไทย ขอขอบคุณคณะผูจัดทําทุกทานคือคุณกนกศักดิ์, คุณปติมา
รัชตะวรรณและคุณพันยมนต อมรนิมิตที่สละแรงกายและเวลาชวยทําหนังสือเลมนี้จนสําเร็จ
ชาคริต อาชวอํารุง
๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๐
Page 3
ชวนคุณพอคุณแมไปไหวพระ
พระพุทธรูปเปนสิ่งที่ใชระลึกถึงพระพุทธเจาที่สําคัญที่สุดอยางหนึ่ง สําหรับพุทธศาสนิกชน ดังนั้นเมื่อไปที่วัดหรือสถานที่สําคัญตางๆ ก็
จะไดเห็นพระพุทธรูป เรามาทําความรูจักพระพุทธรูปกันดีกวา
ระลึก = นึก
Page 4
สิ่งระลึกถึงพระพุทธเจาในชวงแรก
ในยุคพุทธกาล ตามปกติเมื่อออกพรรษา พระภิกษุมักเดินทางไปเฝาพระพุทธเจา แตหลังจากพระพุทธเจาปรินิพพานแลว
ก็ไมรูจะไปที่ใด พระพุทธเจาจึงตรัสถึงสังเวชนียสถานทั้ง ๔ แหง วาเปนที่ควรไปดู ไปเห็น เพื่อใหชาวพุทธระลึกถึง
ความจริงของชีวิตวาเปนของไมเที่ยง จะไดกระตุนเตือนจิตใจใหคิดทําแตสิ่งที่ดีงาม สังเวชนียสถานทั้ง ๔ แหงไดแก
สังเวชนียสถานแหงที่ ๑ ลุมพินีวัน
ลุมพินีวันเปนชื่อของสวนที่พระพุทธเจาประสูติ หลังจาก
พระพุทธเจาปรินิพพานแลว ๒๐๐ ปเศษ พระเจาอโศกมหาราชได
โปรดใหตั้งเสาหินใหญไว และจารึกขอความวา “พระพุทธเจา
ประสูติที่นี้”
พุทธกาล = ชวงเวลาที่พระพุทธเจายังมีชีวิตอยู
ประสูติ = เกิด
ดับขันธปรินิพพาน = ตาย ใชกับพระพุทธเจาและพระอรหันต
เฝา = ไปพบ ไปหา ใชกับพระราชาและราชวงศ
Page 5
สิ่งระลึกถึงพระพุทธเจาในชวงแรก
สังเวชนียสถานแหงที่ ๒ พุทธคยา
พุทธคยา เปนสถานที่ตรัสรูของพระพุทธเจา มีเจดียสี่เหลี่ยมสูงใหญ
เปนเครื่องหมาย อยูขางตนโพธิ์ที่เกิดสืบตอมาจากตนพระศรีมหาโพธิ์
ที่พระพุทธเจาตรัสรู
ตรัสรู = รูแจง หมายถึงรุอริยสัจ ๔ คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค
Page 6
สิ่งระลึกถึงพระพุทธเจาในชวงแรก
สังเวชนียสถานแหงที่ ๓ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน
ปาอิสิปตนมฤคทายวัน เปนสถานที่ที่พระพุทธเจาทรงแสดงปฐม
เทศนา หรือการแสดงธรรมครั้งแรกแกปญจวัคคีย ในวันเพ็ญ ขึ้น
๑๕ ค่ํา เดือน ๘ ที่ในบัดนี้เรียกวาวันอาสาฬหบูชา ปจจุบันนี้มีพระ
สถูปที่พระเจาอโศกมหาราชทรงสรางไว เรียกวาธัมเมกขสถูป เปน
เครื่องหมาย
สังเวชนียสถานแหงที่ ๔ กุสินารา
กุสินารา เปนชื่อเมืองที่ตั้งของสาลวโนทยาน ที่พระพุทธเจาเสด็จดับ
ขันธปรินิพพาน ในวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๖ ปจจุบันมีพระสถูป
ที่พระเจาอโศกทรงสรางไวเปนเครื่องหมาย พระพุทธเจาตรัสโอวาท
สุดทายวา “ทานทั้งหลาย จงทําประโยชนตนและประโยชนผูอื่นให
ครบถวนดวยความไมประมาท”
ดับขันธปรินิพพาน = ตาย ใชกับพระพุทธเจาและพระอรหันต
Page 7
สิ่งระลึกถึงพระพุทธเจากอนมีพระพุทธรูป
สิ่งตางๆ ที่ใชระลึกถึงพระพุทธเจากอนมีพระพุทธรูป มีหลายหลาก เชน
พระพุทธบาท หรือรอยเทาของพุทธเจา
ตนโพธิ์ (เปนเครื่องระลึกถึงตนพระศรีมหาโพธิ์ที่
พระพุทธเจาตรัสรู)
พระบรมสารีริกธาตุ หรือ กระดูกของพระพุทธเจา
เจดียและสิ่งปลูกสรางอื่นๆ
ในสมัยพุทธกาลยังไมมีการสรางพระพุทธรูป เนื่องจากวัฒนธรรมชมพู
ทวีป (อินเดียโบราณ) ไมนิยมทํารูปเหมือนพระพุทธเจา เพราะถือวาเปน
การไมเคารพ
Page 8
พระพุทธรูปเกิดขึ้นเมื่อไร
พระพุทธรูปเกิดขึ้นครั้งแรกในชวงประมาณ พ.ศ. ๕๐๐ ใน
แควนคันธาระ (ปจจุบันอยูในประเทศอัฟกานิสถานและ
ปากีสถาน)
ชาวกรีกในแควนคันธาระที่หันมานับถือพระพุทธศาสนา ได
เริ่มตนสรางพระพุทธรูปขึ้นตามความนิยมของวัฒนธรรมกรีก
โบราณที่ชอบสรางรูปเคารพ หลังจากนั้นการสรางพระพุทธรูป
ก็เปนที่นิยมตลอดมา
รูปเคารพ = วัตถุอันพึงเคารพบูชา
Page 9
พระพุทธรูปที่สรางนับแตอตีตจนถึงปจจุบันมีหลายขนาดตั้งแตใหญมาก จนถึงเล็กจิ๋วอยางพระหอยคอ
Page 10
พระพุทธรูปปางตางๆ
พระพุทธรูปปางตางๆ
พระพุทธรูปในเมืองไทยที่สรางขึ้นเพื่อระลึกถึงพระพุทธเจามีมากมาย
ในทาตางๆกันไป
หรือที่เรียกวา‘ปาง’
มาทําความรูจักปางตางๆของพระพุทธรูปกันเถอะ
เริ่มจากพระพุทธรูปประจําวันเกิดของหนูกอนดีกวา
Page 11
พระพุทธรูปประจําวันอาทิตย
พระพุทธรูปประจําวันอาทิตย: ปางถวายเนตร
ลักษณะ ประทับยืน ประสานพระหัตถทั้งสองไวขางหนา
เชน “พระพุทธรูปปางถวายเนตร”
ประดิษฐานที่ วัดพระศรีมหาธาตุ วรมหาวิหาร
ที่มาของปางนี้
เมื่อพระพุทธเจาตรัสรูใหมๆ ไดเสด็จออกมาประทับยืน ทอดพระเนตร
ไปที่ตนพระศรีมหาโพธิ์ ทรงระลึกถึงประโยชนของตนโพธิ์ที่ชวยเปนรม
เงา เอื้อใหพระองคสามารถตรัสรูเปนพระพุทธเจาได
พระหัตถ = มือ
พระเนตร = ตา
Page 12
พระพุทธรูปประจําวันจันทร
พระพุทธรูปประจําวันจันทร: ปางหามญาติ
ปางหามญาติ
ลักษณะ ประทับยืน ชูพระหัตถทั้งสองขึ้นราวพระอุระ
เชน “พระพุทธปญญาอัคคะ”
ประดิษฐานที่ วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร
ที่มาของปางนี้
ครั้งหนึ่งเหลากษัตริยซึ่งเปนพระญาติของพระพุทธเจา ทะเลาะกันเรื่องแยงน้ําในแมน้ํา
โรหิณี จนเตรียมที่จะทําสงครามใหญกัน พระพุทธเจาจึงเสด็จไปหามสงครามไว และทําให
พระญาติกลับมาสามัคคีกันดังเดิม
พระอุระ = หนาอก
Page 13
พระพุทธรูปประจําวันอังคาร
พระพุทธรูปประจําวันอังคาร: ปางไสยาสน
ไสยาสน
ลักษณะ บรรทม ตะแคงขวา พระหัตถขวาค้ํารองพระเศียร
เชน “พระพุทธไสยาสน” ประดิษฐานที่ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร
ที่มาของปางนี้
ครั้งหนึ่งพระพุทธเจาประทับอยู อสุรินทราหูไดปรากฏกายขึ้น แตไมแสดงความเคารพเนื่องจากคิดวาตัวเองมีรางกายที่
ใหญกวาพระพุทธเจามาก พระพุทธเจาตองการจะโปรด จึงแสดงฤทธิ์ใหราหูเห็นพระพุทธเจาบรรทมอยู มีรางกายที่ใหญ
กวาราหูมากมาย อสุรินทราหูจึงละทิฏฐิมานะของตน แลวแสดงความเคารพตอพระพุทธเจาและยอมฟงธรรม
บรรทม = นอน, พระเศียร = หัว, ศรษะ, โปรด = ปรกติแปลวาชอบ แตในที่นี้หมายถึงสอนธรรมเพื่อชวยใหพนทุกข, ทิฏฐิ = ความดื้อ, มานะ = ความถือตัว
Page 14
พระพุทธรูปประจําวันพุธ
พระพุทธรูปประจําวันพุธ ตอนกลางวัน
ตอนกลางวัน: ปางอุมบาตร
อุมบาตร
ลักษณะ ประทับยืนอุมบาตร
เชน “พระพุทธธรรมาธิปกบพิตร”
ประดิษฐานที่ วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรวิหาร
ที่มาของปางนี้
ครั้งหนึ่งพระพุทธเจาทรงแสดงธรรมโปรดพระพุทธบิดาและพระญาติทั้งหลาย แตวัน
นั้นไมมีใครนิมนตใหพระพุทธเจาไปฉันภัตตาหารที่ไหน ดังนั้นเชาวันรุงขึ้น
พระพุทธเจาจึงเสด็จออกบิณฑบาตในเมืองกบิลพัสดุ เพื่อโปรดมหาชน
นิมนต = เชิญ ใชสําหรับพระสงฆ
ฉัน = กิน รับประทาน ใชกับพระสงฆ
ภัตตาหาร = อาหาร, ของกิน
ออกบิณฑบาต = การที่พระสงฆออกรับอาหารที่ประชาชน ใสถวายลงในบาตร
Page 15
พระพุทธรูปประจําวันพุธ
พระพุทธรูปประจําวันพุธ ตอนกลางคืน
ตอนกลางคืน: ปางปาลิไลยก
ปางปาลิไลยก
ลักษณะ ประทับนั่งบนกอนหิน มีชางและลิงเฝาอยู
เชน “พระพุทธปาลิไลยภิรัตไตรวิเวก”
ประดิษฐานที่ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร
ที่มาของปางนี้
ครั้งหนึ่งพระภิกษุในวัดโฆษิตาราม กรุงโกสัมพี ทะเลาะวิวาทกัน
พระพุทธเจาจะทรงใหคติแกพระเหลานั้น จึงเสด็จไปจําพรรษาอยู
ที่ปารักขิตวัน แถบหมูบานปาลิเลยยกะ โดยมีพญาชางปาลิเลยยกะ
และลิงตัวหนึ่งเปนอุปฏฐาก ครั้นออกพรรษา เมื่อพระพุทธเจา
เสด็จจากปารักขิตวัน ไปประทับที่วัดพระเชตวันพญาชาง
เสียใจมากจนขาดใจตาย สวนพระภิกษุที่ทะเลาะกันก็ได
เดินทางไปเฝาพระพุทธเจาเพื่อแสดงความสํานึกผิด
จําพรรษา = การอยูประจําที่ ไมเดินทางไปไหน ในชวงฤดูฝนเปนเวลา ๓ เดือน, อุปฏฐาก = ผูบํารุง ผูรับใช
Page 16
พระพุทธรูปประจําวันพฤหัสบดี
พระพุทธรูปประจําวันพฤหัสบดี: ปางสมาธิ
สมาธิ
ลักษณะ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถทั้งสองประสานกันไวบนพระเพลา
เชน “พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร” (พระแกวมรกต)
ประดิษฐานที่ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแกว)
ที่มาของปางนี้
ครั้งหนึ่งเจาชายสิทธัตถะ เสด็จไปประทับนั่งอยูใตตนพระศรีมหาโพธิ์
ทรงตั้งพระทัยมั่นวาจะไมลุกไปไหนเด็ดขาดจนกวาจะไดบรรลุสัมมา
สัมโพธิญาณ จนในที่สุดพระองคก็ทรงบรรลุธรรมสําเร็จเปนพระพุทธเจา
พระเพลา = ตัก, พระทัย = ใจ, บรรลุ = ถึง, สําเร็จ, สัมมาสัมโพธิญาณ = ปญญาที่ทําใหตรัสรูเปนพระพุทธเจา
Page 17
พระพุทธรูปประจําวันศุกร
พระพุทธรูปประจําวันศุกร: ปางรําพึง
รําพึง
ลักษณะ ประทับยืน ประสานพระหัตถขวาเหนือพระหัตถซายไวที่พระอุระ
เชน “พระพุทธสิริกิติทีฆายุมงคล”
ประดิษฐานที่ พระธาตุนภพลภูมิสิริ ดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม
ที่มาของปางนี้
ครั้งหนึ่ง หลังจากที่พระพุทธเจาตรัสรูไดไมนาน ไดทรงรําพึงถึงพระธรรม
ที่ทรงตรัสรูวาเปนของยาก จึงโนมพระทัยวาจะไมทรงสอนคนทั่วไป แตตอมาเมื่อมีพระพรหมชื่อ
สหัมบดีพรหมมาอาราธนา จึงตกลงพระทัยวาจะทรงสั่งสอนธรรมใหเหมาะสมกับภูมิปญญาของผูฟง
รําพึง = คิดใครครวญ
อาราธนา = เชื้อเชิญ ขอรอง
Page 18
พระพุทธรูปประจําวันเสาร
พระพุทธรูปประจําวันเสาร: ปางนาคปรก
ลักษณะ ประทับนั่งขัดสมาธิ มีพญานาคแผพังพานอยูเหนือพระเศียร
เชน “พระมหานาคชินะ”
ประดิษฐานที่ วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรมหาวิหาร
ที่มาของปางนี้
ครั้งหนึ่งพระพุทธเจาประทับอยูที่ใตตนจิก มีฝนตกลงมา พญานาคชื่อ
มุจลินทจึงเลื้อยออกมาขดรอบพระองคไว และแผพังพาน ปกปองพระองค
จากลมและฝน
พังพาน = คองูเหาหรืองูจงอางที่แผแบนออกทําทาจะฉก คําที่ความหมายเหมือนกันคือ แม
เบี้ย
Page 19
ปางหามสมุทร
ปางหามสมุทร
ลักษณะ ประทับยืน ชูพระหัตถขวาขึ้นราวพระอุระ
เชน “พระอัฏฐารส ศรีสุคตทศญาณบพิตร”
ประดิษฐานที่ วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร
ที่มาของปางนี้
ครั้งหนึ่งพระพุทธเจาเสด็จไปโปรดชฎิล ๓ พี่นองพรอมบริวาร ๑,๐๐๐คน ดวยเห็นวา
ชฎิลทั้ง ๓ เปนที่เคารพนับถือของพระเจาพิมพิสารและชาวเมืองราชคฤห ถาทําใหชฎิล
นับถือคําสั่งสอนของพระองคไดการเผยแผพระพุทธศาสนาในแควนมคธจะทําไดงายขึ้น
แตชฎิลไมศรัทธาพระพุทธเจาโดยคิดวาตนเองนั้นมีฤทธิ์มากกวา พระพุทธเจาจึงแสดง
ฤทธิ์หามน้ําที่ไหลทวมมา ไมใหเขาถึงที่ประทับ จนกระทั่งชฎิลเกิดความศรัทธายอมรับฟง
พระธรรม และขออุปสมบทเปนพระภิกษุ และไดสําเร็จเปนพระอรหันตทั้งหมด
นอกจากพระพุทธรูปประจําวันเกิดทั้ง ๘ ปางแลว ยังมี
พระพุทธรูปสําคัญปางอื่นๆ อีกเชน
พระพุทธรูปสําคัญปางอื่นๆ
Page 20
ปางลีลา
ปางลีลา
ลักษณะ กําลังเสด็จพุทธดําเนิน(เดิน)
เชน “พระศรีศากยะทศพลญาณ”
ประดิษฐานที่ พุทธมณฑล
ที่มาของปางนี้
พระพุทธรูปปางนี้สรางขึ้นเพื่อระลึกถึงการเสด็จพุทธดําเนินไปทรงสั่งสอนธรรม แก
ประชาชนทุกหมูเหลา แตบางแหลงบอกวา สรางขึ้นเพื่อระลึกถึงเมื่อครั้งที่พระพุทธเจา
เสด็จกลับจากการไปโปรดพุทธมารดาบนสวรรคชั้นดาวดึงส พรอมดวยเหลาเทวดาและ
พรหมที่ตามมาสงเสด็จ พระพุทธองคทรงมีพุทธลีลางดงามยิ่ง เปนที่ชื่นชมโสมนัสแก
พุทธบริษัทที่เฝารับเสด็จ
ดําเนิน = เดิน
เสด็จ = ไป, อยู
Page 21
ปางมารวิชัย
ปางมารวิชัย
ลักษณะ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถซายวางอยูบนพระเพลา
พระหัตถขวาวางอยูบนพระชานุ
เชน “พระพุทธชินสีห”
ประดิษฐานที่ วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรมหาวิหาร
ที่มาของปางนี้
เมื่อครั้งที่เจาชายสิทธัตถะ ประทับอยูใตตนโพธิ์กอนที่จะสําเร็จเปน
พระพุทธเจา ไดมีพญามารชื่อวสวัตดีมารเดินทางมาพรอมบริวาร
จํานวนมาก เพื่อจะขัดขวางไมใหเจาชายสิทธัตถะไดเปนพระพุทธเจา
แตพระองคทรงชนะมารทั้งปวงไดดวยความสงบนิ่งและความดี จนทรง
บรรลุธรรม ตรัสรูอริยสัจ ๔ เปนพระสัมมาสัมพุทธเจา
พระชานุ = เขา
Page 22
ปางปฐมเทศนา
ลักษณะ ประทับนั่ง มีปญจวัคคียนั่งฟงธรรมอยู
เชน “พระพุทธชินราชวโรวาทธรรมจักร”
ประดิษฐานที่ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
ราชวรมหาวิหาร
ที่มาของปางนี้
พระพุทธรูปปางนี้สรางขึ้นเพื่อระลึกถึงเหตุการณ
ครั้งที่พระพุทธเจาทรงแสดงปฐมเทศนาโปรด
ปญจวัคคีย ที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน เมือง
พาราณสี ในวันอาสฬหบูชา
ธัมมจักกัปปวัตนสูตร = คําสอนของพระพุทธเจาแกปจจวัคคีย วาดวยทางสายกลางและอริยสัจ ๔
Page 23
ปางปรินิพพาน
ปางปรินิพพาน
ลักษณะ บรรทมตะแคงขวา พระเศียรหนุนพระเขนย พระหัตถขวาราบอยูที่พื้น
เชน “พระพุทธรูปปางปรินิพพาน ”
ประดิษฐานที่ วัดพระปฐมเจดีย ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม
ที่มาของปางนี้
พระพุทธรูปปางนี้สรางขึ้นเพื่อระลึกถึงเหตุการณครั้งพระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพาน
เมื่อมีพระชนมายุได ๘๐ พรรษา
พระเขนย = หมอน
Page 24
Page 25
Page 26
อยาลืมชวนคุณพอคุณแมไปไหวพระที่วัดของหนูกันนะ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น