++

...+

Theขี้ฝุ่นริมทาง

วันอังคารที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

จงเข้าถึง สุขอันยิ่งใหญ่

พระพุทธเจาสอนวา“นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํสุขอื่นยิ่งกวาความสงบไมมี”หมายความวา ความสุขอื่นมีเชนกับความสุขในการดูละคร ดูหนัง ความสุขในการเขาสังคม (Social) ในการมีคูรักคูครอง หรือในการมีลาภยศการ ไดรับความสุข สรรเสริญ และไดรับความสุขจากสิ่งเหลานี้ก็สุขจริง แตวาสุขเหลานี้มีทุกขซอนอยูทุกอยาง ตองคอยแกไขปรับปรุงกันอยูเสมอ ไมเหมือนกับความสุขที่เกิดจากสันติ ความสงบ เปนความสุขที่เยือกเย็น และไมซอนดวยความทุกข และไมตองแกไขปรับปรุงตกแตงมาก เปนความสุขที่ทําไดงายๆ เกิดกับกายใจของเรานี่เอง อยูในที่เงียบๆ คนเดียวก็ทําได หรืออยูในสิ่งแวดลอมสังคมก็ทําได ถาเรารูจักแยกใจหาสันติสุข กายนี้ก็สักแตวาอยูในที่ระคนดวยความยุง สิ่งแวดลอมเหลานั้นไมยุงมาถึงใจแมเวลาเจ็บหนักมีทุกขเวทนาปวด ราวไปทั่วกาย แตเรารูจักทําใจใหเปนสันติสุขได ความเจ็บนั้นก็ไมสามารถจะทําใจใหเดือดรอนตามไปดวย เมื่อใจสงบแลว กลับจะทําใหกายนั้นสงบ หายทุกขเวทนาไดดวย และประสบสันติสุขซึ่งไมมีสุขอื่นยิ่งกวาสันติสุขนั้นพระพุทธเจาสอนใหฝกเปน ๓ ทาง คือ๑. สอนใหสงบกาย วาจา ดวยศีล ไมทําโทษทุจริตอยางหยาบที่เกิดทางกาย วาจา เปนเหตุใหเกิดสันติสุขทางกาย วาจา เปนประการตน๒. สอนใหฝกหัดใหเกิดสันติสุขทางใจดวยสมาธิ หัดใจไมใหคิดถึงความกําหนัด ความโกรธ ความโลภ ความหลง ความกลัว ความฟุงซานรําคาญ ความลังเลใจ ทําใหใจไมเด็ดเดี่ยว ไมเด็ดขาด เมื่อละสิ่งเหลานี้ได เปนเหตุใหใจสงบ เปนสันติสุขทางจิตใจอีกประการหนึ่ง๓.ทรงสอนใหฝกหัดใหเกิดสันติ สุขทางทิฏฐิ (ความเห็น) ดวยปญญา พิจารณาใหเห็นวาสรรพสิ่งทั้งหลายไมแนนอน เปน “อนิจจัง” ไมเที่ยง คงทนอยูไมได ตองเสื่อมสิ้น แปรปรวนไป ดับไป เรียกวาเปน “ทุกข” ไมอยูในอํานาจบังคับบัญชา ออนวอนขอรอง หรือเรงรัดใหเปนไปตามความประสงค
Page 2
ทานเรียกวา “อนัตตา”เมื่อเรา รูเห็นตามเปนจริงเชนนี้ จะทําใหจิตใจของเราเขมแข็งมั่นคงเด็ดเดี่ยว ไมหวั่นไหวไปตามเหตุการณทั้งหลาย เพราะรูเห็นตามเปนจริงดวยปญญาวา สิ่งเหลานั้นมันไมแนนอน มันคงอยูไมไดตองเปลี่ยนแปลงเสื่อมสิ้นดับไป ไมอยูในอํานาจบังคับบัญชาฝาฝนของเราอยา ไปเรงรัดใหเสียกําลังใจ คงรักษาใจเราใหเปนอิสระมั่นคงอยูเสมอ ไมหวั่นไหวไปตามเหตุการณเหลานั้น เปนเหตุใหใจตั้งอยูในสันติสุข เปนอิสระ เกิดอํานาจทางจิต –Mind Power ที่จะใชทํากิจกรณียะ อันเปนหนาที่ของตน ไดสําเร็จสมประสงคที่ จะทําอะไรไมผิดนั้น ขอสําคัญอยูที่สติ ถามีสติคุมครอง กาย วาจา ใจ อยูทุกขณะ จะทําอะไรไมผิดพลาดเลย ที่ผิดพลาดเพราะขาดสติคือ เผลอ เหมอเลินเลอ ประมาท ระเริง หลงลืม จึงผิดพลาด จงนึกถึงคติพจนวา “กุมสติตางโลปอง อาจแกลวกลางสนาม”ธรรมดาชีวิตทุกชีวิตทั้ง มนุษยและสัตวตลอดทั้งพืชพันธุพฤกษาชาติ เปนอยูไดดวยการตอสู ตรงกับคําวา “Life isfighting. – ชีวิตคือการตอสู ” เมื่อตอสูไมไหวขณะใด ก็ตองถึงที่สุดแหงชีวิตคือ “death - ความตาย”เพราะ ฉะนั้น ยังมีสติอยูตราบใด ถึงตายก็ตายแตกาย เชนกับพระพุทธเจาและพระอรหันต ทานมีสติไพบูลยอยูทุกขณะจิต ทานจึงทําอะไรไมผิด และถึงซึ่งอมตธรรม คือ ธรรมที่ไมตาย ตรงกับคําวา“immortal” จึงเรียกวา ปรินิพพาน คือ นาม รูป สังขาร รางกายที่เรียกวา เบญจขันธ ขันธ ๕ คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แตกดับไปเทานั้นเพราะ ฉะนั้น ควรฝกฝนสติสัมปชัญญะ เมื่อทําเสร็จแลวก็มีสติตรวจตรา พิจารณาดูวา บกพรองอยางไร หรือเรียบรอยบริบูรณดี ถาบกพรองก็รีบแกไขเพื่อใหสมบูรณตอไป ถาเรียบรอยดีอยูแลวก็พยายามใหเรียบรอยดียิ่งๆ ขึ้นไปจนถึงที่สุด“ทานเจาคุณ นรรัตนราชมานิต (ธมมวิตกโก ภิกขุ)”จากหนังสือ “ผลไมในสวนธรรม”
Page 3
ประโยคทิ้งทาย :อานุภาพของไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปญญาดวยอานุภาพของไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญญานี้แลจึงชนะขาศึก คือ กิเลสอยางหยาบ อยางกลาง และอยางละเอียดได !1. ชนะความหยาบคาย ซึ่งเปนกิเลสอยางหยาบที่ลวงทางกายวาจาได ดวยศีลชนะความยินดียินรายหลงรังหลงชังซึ่งเปนกิเลสอยางกลางที่เกิดในใจได ดวยสมาธิชนะความเขาใจ รูผิด เห็นผิดจากความเปนจริงของสังขารซึ่งเปนกิเลสอยางละเอียดได ดวยปญญา2. ผูใดศึกษาและปฏิบัติตามตามไตรสิกขาคือ ศีล สมาธิ ปญญานี้โดยพรอมมูลบริบูรณสมบูรณแลวผูนั้นจึงเปนผูพนจากทุกขทั้งปวงไดแนนอน ไมตองสงสัยเลย !เพราะฉะนั้น จึงควรสนใจ เอาใจใส ตั้งใจศึกษาและปฏิบัติตามไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญญานี้ ทุกเมื่อเทอญ“ทานเจาคุณ นรรัตนราชมานิต (ธมมวิตกโก ภิกขุ)”“อุบาสิกา...ณชเล”

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น