++

...+

Theขี้ฝุ่นริมทาง

วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553

สรรพากรใจดีชวยผูบริจาคน้ําทวมไดทั้งบุญแถมไดสิทธิลดหยอนภาษีเต็มที่

กรมสรรพากร
Revenue Department News
เลขที่ขาว ปชส. 7/2554
วันที่แถลงขาว 2 พฤศจิกายน 2553
เรื่อง สรรพากรใจดีชวยผูบริจาคน้ําทวมไดทั้งบุญแถมไดสิทธิลดหยอนภาษีเต็มที่
....................................................................................................................................................................... ..........
ตามที่ ขณะนี้หลายพื้นที่ของประเทศประสบภัยน้ําทวม สรางความเดือดรอนใหแกประชาชนเปน
อยางมาก จนมีหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนไดตั้งศูนยชวยเหลือผูประสบภัยรับเงินบริจาคและสิ่งของ
เพื่อรวบรวมสงไปใชบรรเทาทุกขมาอยางตอเนื่อง นั้น
กรมสรรพากรจึงไดเสนอมาตรการภาษีเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยและผูบริจาคเงิน/ สิ่งของบรรเทาทุกข
ใหแกผูเดือดรอนเขาสูการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันอังคารที่ 2 พฤศจิกายน 2553 โดยที่ประชุม
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามมาตรการภาษีของกรมสรรพากรดังกลาว ดังมีรายละเอียดความชวยเหลือสําคัญ
พอสรุปไดดังตอไปนี้
1. กรณีเงินบริจาค
1.1 ผูบริจาคที่เปนบุคคลธรรมดาไดจายเงินหรือโอนเงินเขาบัญชีชวยเหลือผูประสบภัยซึ่งจัดโดย
บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ( เปนตัวแทนรับเงินบริจาคใหแกผูประสบภัย) ไดแก สถานีโทรทัศนชอง3
ชอง5 ชอง7 ชอง9 อสมท. หรือกองทุนภาคเอกชน เปนตนสามารถนําเงินบริจาคนั้นหักลดหยอนไดตามจริง
( รวมกับเงินบริจาคอื่นๆดวย) แตไมเกินรอยละ10 ของเงินไดหลังหักคาใชจายและคาลดหยอนแลว
1.2 ผูบริจาคที่เปนบริษัท / หางหุนสวนนิติบุคคล สามารถนําเงินหรือทรัพยสินที่บริจาคนํามา
หักรายจายไดตามที่จายจริงแตไมเกินรอยละ2 ของกําไรสุทธิในปที่บริจาค นอกจากนี้กรณีทรัพยสินหรือสินคา
ที่นําไปบริจาคก็ไดรับยกเวนภาษีมูลคาเพิ่มโดยไมถือเปนการขาย
1.3 ผูประกอบการที่ไดรับความเสียหายจากอุทกภัยที่ลงทะเบียนไวกับศูนยหรือหนวยงานที่ให
ความชวยเหลือของทางราชการเมื่อไดรับเงินหรือทรัพยสินที่บริจาคจะไดรับยกเวนเงินไดพึงประเมินเทาจํานวน
ความเสียหายโดยไมตองนําไปรวมคํานวณเพื่อเสียภาษีในปที่เกิดรอบภาษีนั้นๆ
1.4 บุคคลธรรมดาที่ประสบอุทกภัย เมื่อไดรับการชวยเหลือหรือชดเชยที่มีมูลคาไมเกิน
ความเสียหายไดรับยกเวนภาษีเงินไดจากเงิน/ ทรัพยสินที่ไดรับจริงเพื่อการนี้ รวมถึงกรณีที่ผูประสบอุทกภัย
ไดรับเงินชดเชยจากภาครัฐก็ไดรับการยกเวนภาษีเงินไดดวย
1.5 ผูรับบริจาคหรือผูรับเงินชดเชยจากภาครัฐที่เปนบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่ประสบ
อุทกภัย ไดรับการยกเวนภาษีเงินไดจากเงินหรือทรัพยสินที่ไดรับบริจาคนั้นเชนเดียวกัน
Page 2
- 2 -
2. กรณีบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่ไดรับเงินคาสินไหมทดแทนที่ไดรับจากการประกันภัย
เพื่อชดเชยความเสียหายไดรับยกเวนภาษีเงินไดเฉพาะสวนที่เกินมูลคาตนทุนของทรัพยสินที่เหลือจากการหัก
คาสึกหรอและคาเสื่อมราคาแลว
3. การขยายเวลาการยื่นแบบแสดงรายการภาษี สําหรับภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย ภาษีมูลคาเพิ่ม
ภาษีธุรกิจเฉพาะและอากรแสตมป ที่ตองยื่นแบบในเดือนกันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน และธันวาคม 2553
ไดรับการขยายเวลาโดยใหนําไปยื่นภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 ทั้งนี้ สําหรับผูประกอบการที่ประสบภัย
ในพื้นที่ที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนดในภายหลัง
นายสาธิต รังคสิริ อธิบดีกรมสรรพากร กลาววา “ มาตรการภาษีใหความชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติ
( อุทกภัย) ในครั้งนี้ เปนมาตรการที่ใชและไดรับการกลั่นกรองอยางครอบคลุมผูที่เกี่ยวของทุกฝายแลว ซึ่งเปน
สิทธิที่ผูปฏิบัติสามารถนําไปใชหักลดหยอนหรือหักคาใชจาย เปนการบรรเทาภาระภาษีที่เกิดขึ้นในระหวาง
ภัยพิบัติได เพื่อชวยเหลือดานสภาพความเปนอยูของผูรับบริจาครวมทั้ง ผูที่เขาไปมีสวนรวมสนับสนุนหรือเปน
ตัวแทนระดมความชวยเหลือ การลดภาระภาษีจากคาสินไหมคาทดแทนคาชดเชยใด ๆที่ผูประสบภัยจะไดรับ
จากภาครัฐหรือภาคเอกชน ที่มุงใหเกิดการฟนฟูสภาพความเปนอยู อันเปนการตอบสนองน้ําใจของผูเสียสละ
รวมบริจาคให ถือเปนจิตสํานึกสําคัญที่มอบความรวมมือที่ดีและมีสวนรวมรับผิดชอบตอสังคมในเหตุอุทกภัย
ครั้งใหญที่เกิดขึ้นในหลายภูมิภาคของประเทศในขณะนี้”
................................................................
กรมสรรพากร เต็มที่ เต็มใจ ใหประชาชน
สวนประชาสัมพันธ สํานักบริหารกลาง กรมสรรพากร
เลขที่90 ถนนพหลโยธิน7 พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2617 3320-21 โทรสาร0 2617 3324 หรือ RD Call Center 1161

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น