++

...+

Theขี้ฝุ่นริมทาง

วันจันทร์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2553

กฎหมายเกี่ยวกับชีวิตประจําวัน

ในชีวิตประจําวันของคนเรานั้น จะตองมีติดตอสัมพันธกับผูอื่นหลายดาน ถาตองการใหความ
สัมพันธนั้นมีผลทางกฎหมายก็ตองมีการทํานิติกรรมสัญญาระหวางกัน
ในเรื่องการทํานิติกรรมสัญญาในที่นี้จะกลาวถึงเรื่องตอไปนี้
ก. กูยืมเงิน
ข. ค้ําประกัน
ค. จํานอง
ง. จํานํา
จ. ซื้อ-ขาย
ฉ. ขายฝาก
ช. เชาทรัพย
ซ.
เชาซื้อ
Page 2
ก. กูยืมเงิน
๑. ความหมาย
การกูยืมเงินเปนสัญญาอยางหนึ่ง ซึ่งเกิดจากบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งเรียกวา “ผูกู” มี
ความตองการจะใชเงิน แตตนเองมีเงินไมพอ หรือไมมีเงินไปขอกูยืมจากบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวา“ผูใหกู”
และผูกูตกลงจะใชคืนภายในกําหนดเวลาใดเวลาหนึ่ง การกูยืมจะมีผลสมบูรณก็ตอเมื่อ มีการสงมอบเงิน
ที่ยืมใหแกผูที่ยืมในการกูยืมนี้ผูใหกูจะคิดดอกเบี้ยหรือไมก็ได
ตัวอยาง นายดํา ตองการจะซื้อรถราคา ๑๕๐,๐๐๐ บาท แตนายดําไมมีเงิน นายดําจึงไปขอยืม
เงินจากนายแดง โดยตกลงจะใชคืนภายใน ๑ ป นับตั้งแตวันที่กูยืม ดังนั้นเมื่อครบกําหนด ๑ ปแลว
นายดํา (ผูกู) ตองใชเงินคืนใหแกนายแดง
๒. ดอกเบี้ย
ในการกูยืมเงินกันนี้ เพื่อปองกันมิใหนายทุนบีบบังคับคนจน กฎหมายจึงไดกําหนดอัตราดอก
เบี้ยขั้นสูงสุดที่ผูใหกูสามารถเรียกได วาตองไมเกินรอยละ ๑๕ ตอป คือรอยละ ๑.๒๕ ตอเดือน (เวนแต
เปนการกูยืมเงินจากบริษัทเงินทุนหรือธนาคาร ซึ่งสามารถเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราดังกลาวไดตาม พ.ร.บ.
ดอกเบี้ยเงินใหกูยืมของสถาบันการเงิน) ถาเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราดังกลาวถือวาขอตกลงเรื่องดอกเบี้ยนั้น
เปนอันเสียไปทั้งหมด คือ ไมตองมีการใชดอกเบี้ยกันเลยและผูใหกูอาจมีความผิดทางอาญาฐานเรียกดอก
เบี้ยเกินอัตราดวย คือ อาจตองระวางโทษจําคุกไมเกิน ๑ ป หรือปรับไมเกิน ๑,๐๐๐ บาท หรือทั้งจําทั้ง
ปรับ ตาม พ.ร.บ. หามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. ๒๔๗๕
๓. หลักฐานการกูยืม
ในการตกลงทําสัญญากูยืมเงินนั้น ถาหากวากูยืมกันเปนจํานวนเงินเล็กนอยไมเกิน ๕๐ บาท
กฎหมายไมไดบังคับวาตองทําหลักฐานเปนหนังสือ แสดงถึงการกูยืมหรือทําสัญญาไวตอกัน เชน ยืมเงิน
๒๐ บาท หรือ ๓๐ บาทแลวเพียงแตพูดจาตกลงกันก็พอ แตถาหากวากูยืมเปนจํานวนเกินกวา ๕๐ บาท
ตองทําหลักฐานแหงการกูยืมเปนหนังสือหรือทําหนังสือสัญญากูไวตอกัน เพื่อจะไดใชเปนหลักฐานในการ
ฟองรองบังคับคดีในกรณีที่ไมปฏิบัติตามสัญญา ในหลักฐานแหงการกูเปนหนังสือดังกลาวนี้ตองมีขอความ
แสดงวาไดกูยืมเงินเปนจํานวนเทาใดมีกําหนดใชคืนเมื่อใดและที่สําคัญจะตองมีการลงลายมือชื่อผูกู
Page 3
ตัวอยาง หลักฐานการกูยืมเงิน
ขาพเจา นายดํา ไดกูยืมเงินจากนายสมศักดิ์เปนจํานวน ๓,๐๐๐ บาท (สามพันบาทถวน) เมื่อ
วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๓๐ มีกําหนดใชคืนภายใน ๑ ป ดอกเบี้ยรอยละ ๑๕ ตอป
ลงชื่อ ดํา ผูกู
หากวาในขณะกูยืมเงินกันแตมีการตกลงรับเอาสิ่งของแทนจํานวนเงินที่กูยืมกันนั้น ตองคิดราคา
ของตลาดของสิ่งนั้นเปนจํานวนเงินที่กูจริงนั้น เชน มีการตกลงกูยืมเงินกัน ๕๐๐ บาท แตมีการตกลงให
รับขาวสารแทน ๒ กระสอบ ซึ่งในขณะนั้นขาวสารกระสอบละ ๑๕๐ บาท ดังนั้น เราถือวามีการกูยืมเงิน
กันจริงเพียง ๓๐๐ บาทเทานั้น
๔. อายุความ
การฟองรองเรียกเงินตามสัญญากูจะตองกระทําภายในกําหนดอายุความ ซึ่งกฎหมายกําหนดไววา
จะตองฟองภายใน ๑๐ ปนับแตวันที่ถึงกําหนดชําระเงินคืน
ตัวอยาง แดง กูยืมเงิน ดํา เมื่อ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๓๐ จํานวน ๑๐,๐๐๐ บาท เปนเวลา ๑ ป
ดังนั้นหนี้รายนี้ถึงกําหนดในวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๓๑ ผูใหกูตองฟองเรียกเงินที่กูยืมคืน ภายใน
๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๑
๕. ขอควรระมัดระวังในการกูยืม
(๑) อยาไดลงลายมือชื่อในกระดาษเปลาเปนอันขาด
(๒) อยาไดนําโฉนดไปใหเจาหนี้ยึดถือไวเปนประกัน
(๓) จะตองนับเงินใหถูกตองครบถวนตามสัญญา
(๔) ผูยืมจะตองเขียนจํานวนเงินเปนตัวหนังสือดวย
(๕) สัญญาที่กูตองทําอยางนอย ๒ฉบับ โดยใหผูกูยึดถือไวฉบับหนึ่ง และใหผูใหกูยึดถือไว
อีกฉบับหนึ่ง
(๖) ในสัญญากูควรมีพยานฝายผูกูลงลายมือชื่อเปนพยานอยางนอย ๑ คน
๖. ขอปฏิบัติในการชําระเงิน
เมื่อผูกูนําเงินไปชําระไมวาจะเปนการชําระทั้งหมดหรือบางสวนก็ตามผูกูควรทําอยางใดอยาง
หนึ่งดังตอไปนี้ มิฉะนั้นจะอางยันผูใหกูวาชําระเงินกูใหเขาคืนแลวไมได
Page 4
สิ่งที่ผูกูควรกระทําเมื่อชําระเงิน คือ
(๑) รับใบเสร็จเงินหรือหนังสือที่มีขอความวาไดชําระเงินที่กูมาแลวทั้งหมดหรือเพียงบางสวน
และมีลายเซ็นผูใหกูกํากับไวดวย
ตัวอยาง ขาพเจา นายสมศักดิ์ ร่ํารวยทรัพย ไดรับเงินคืนจาก นายดํา เกิดมาก ผูกูเปนจํานวน
๕,๐๐๐ บาท
ลงชื่อ สมศักดิ์ ร่ํารวยทรัพย ผูใหกู
๒๗ มิถุนายน ๒๕๓๐
(๒) รับหนังสือสัญญากูเงินที่ไดทําไวแกผูใหกูคืนมาในกรณีที่ชําระเงินครบตามจํานวนเงินที่กู
(๓) มีการบันทึกลงในสัญญาก็วาไดนําเงินมาชําระแลวเทาไรและใหผูใหกูเซ็นชื่อกํากับไว ผูให
กูตองเซ็นชื่อกํากับไวทุกครั้งที่มีการชําระเงินจึงจะอางยันไดวาไดชําระเงินไปแลว
Page 5
ข. ค้ําประกัน
คนเราถาขัดสนเงินทองก็ตองกูเปนหนี้เขา แตเขาอาจจะไมยอมใหกูถาไมมีอะไรเปนหลักประกัน
ใหความมั่นใจวาเขาจะไดรับชําระหนี้คืน ค้ําประกันก็เปนหลักประกันอันหนึ่ง ค้ําประกัน คือการที่ใครคน
หนึ่งทําสัญญากับเจาหนี้วาถาลูกหนี้ไมชําระหนี้ ผูค้ําประกันจะชําระหนี้นั้นแทน เมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้
เจาหนี้ก็ยอมมีสิทธิเรียกรองหรือฟองใหผูค้ําประกันรับผิดได
การที่จะฟองใหผูค้ําประกันรับผิดตามสัญญาค้ําประกันไดนั้น จะตองมีหลักฐานเปนหนังสือ ลง
ลายมือชื่อผูค้ําประกันเปนสําคัญมิใชตกลงกันดวยปากเปลาซึ่งฟองไมได ตามธรรมดาถาทําสัญญาค้ํา
ประกันตามแบบซึ่งมีขายอยูทั่วไป ก็ไมคอยมีปญหาเพราะเปนแบบซึ่งทําโดยผูรูกฎหมาย แตถาทํากันเองก็
อาจเกิดปญหาได ถาเราเปนเจาหนี้ก็ตองระมัดระวังในขอนี้ ในเอกสารนั้นตองมีขอความอันเปนสาระสําคัญ
วา ถาลูกหนี้ไมชําระหนี้ผูค้ําประกันจะชําระหนี้แทน มิฉะนั้นอาจฟองผูค้ําประกันไมได เพราะไมใชเปน
สัญญาค้ําประกันตามกฎหมาย
ขอบเขตความรับผิดชอบของผูค้ําประกัน
ผูค้ําประกัน จะไมจํากัดความรับผิดหรือจะจํากัดความรับผิดชอบของตนไวในสัญญาค้ําประกัน
ดวยก็ได ถาไมตองการรับผิดอะไรบาง หรือตองการจํากัดขอบเขตความรับผิดไวเพียงใด ก็ตองระบุใน
สัญญาใหชัดเจน เชน ลูกหนี้กูเงินเจาหนี้ ๑๐๐,๐๐๐ บาท อัตราดอกเบี้ยรอยละ ๑๕ ตอป ผูค้ําประกันจะ
จํากัดความรับผิดเฉพาะกรณีที่บุคคลนั้น ทําความเสียหายเนื่องจากทุจริตตอหนาที่ไมรวมถึงประมาทเลินเลอ
ดวยก็ได เมื่อจํากัดความรับผิดไวแลวก็รับผิดเทาที่จํากัดไว แตถาไมจํากัดความรับผิดเมื่อลูกหนี้ผิดสัญญา
ตอเจาหนี้ ไมชําระเงินหรือคาเสียหายมากนอยเพียงใด ผูค้ําประกันก็ตองรับผิดจนสิ้นเชิงเชนเดียวกับลูกหนี้
ทุกอยาง เมื่อทําสัญญาประกันแลวผูค้ําประกันตองผูกพันตามสัญญานั้น เจาหนี้มีสิทธิเรียกรองหรือฟองให
รับผิดได เมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้ตามกําหนด
สิทธิของผูค้ําประกัน
(๑) เมื่อผูค้ําประกันถูกเรียกรองใหชําระหนี้แทนลูกหนี้ มิใชผูค้ําประกันตองชําระหนี้ทันทีแตมี
สิทธิที่จะเกี่ยงใหเจาหนี้ ไปเรียกรองเอาจากลูกหนี้กอนได ทั้งนี้ภายใตขอยกเวนบางประการและถา เจาหนี้
ฟองเปนจําเลยรวมกับลูกหนี้ก็ยังมีสิทธิพิสูจนตอศาลวาลูกหนี้มีทรัพยสินชําระหนี้ไดและการที่จะบังคับจาก
ลูกหนี้นั้นไมเปนการยาก ถาผูค้ําประกันนําพยานเขาสืบและฟงไดเชนนั้น ศาลก็ตองบังคับเอาจากทรัพยสิน
ของลูกหนี้กอนเพราะหนี้ที่ผูค้ําประกันตองชําระมิใชเปนหนี้ของผูค้ําประกันเอง ผูค้ําประกันเปนลูกหนี้
ชั้นที่สอง
Page 6
บางกรณีเจาหนี้เอาเปรียบลูกหนี้และผูค้ําประกัน ในสัญญาสําเร็จรูป จะมีความวา “ใหผูค้ํา
ประกันยอมรับผิดรวมกับลูกหนี้” คือเปนลูกหนี้รวมเทากับใหผูค้ําประกันรับผิดหนักขึ้น ดังนั้นกอนเซ็น
สัญญาค้ําประกัน จึงตองพิจารณาวาจะยอมรับผิดเชนนั้นหรือไม ถายอมรับผิดรวมกับลูกหนี้ก็ไมมีสิทธิที่
จะเกี่ยวดังกลาวขางตน
(๒) เมื่อผูค้ําประกันชําระหนี้ใหแกเจาหนี้แลว ไมวาชําระแตโดยดี หรือชําระหนี้โดยถูกบังคับ
ตามคําพิพากษา ผูค้ําประกันก็มีสิทธิรับชวงสิทธิของเจาหนี้ ในอันที่จะเรียกเอาเงินชําระใหเจาหนี้ใชแลว
นั้น คืนจากลูกหนี้ไดตามจํานวนที่ชําระไปตลอดจนทั้งคาเสียหายตางๆเนื่องจากการค้ําประกัน
การเปนผูค้ําประกันนั้นมีแตเสีย ตามคําพังเพยที่วาเนื้อไมไดกินหนังไมไดรองนั่ง มีแตเอากระดูกมาแขวน
คอ เพราะฉะนั้นกอนที่จะเซ็นชื่อในสัญญาค้ําประกัน ตองพิจารณาตัวลูกหนี้ซึ่งเปนผูค้ําประกันจะชําระหนี้
แทนใหดีวามีความสามารถชําระหนี้ใหเจาหนี้ไดแคไหน และมีความซื่อสัตยสุจริตเพียงใด ทั้งตองพิจารณา
ขอความในสัญญาใหรอบคอบ บางทีกําหนดใหผูค้ําประกันรับผิดหนักขึ้น หรือสละสิทธิบางอยางอันอาจทํา
ใหไลเบี้ยเอาจากลูกหนี้ไมได เมื่อเขาใจขอความในสัญญาดีแลวจึงคอยลงชื่อในสัญญาค้ําประกัน
การพนความรับผิดของผูค้ําประกัน
เมื่อเซ็นชื่อในสัญญาแลวผูค้ําประกันก็มีภาระจะตองรับผิดตอเจาหนาที่จนกวาหนี้ของลูกหนี้
จะระงับไป ตราบใดที่หนี้ของลูกหนี้ยังมีอยูผูค้ําประกันก็ไมพนความรับผิด แตมีพฤติการณบางอยางที่
กฎหมายกําหนดไวใหผูค้ําประกันพนความรับผิด
(๑) เจาหนี้ผอนเวลาใหแกลูกหนี้ คือถาไดกําหนดวันชําระหนี้ไวแนนอนแลว เจาหนี้ยืดเวลา
ตอไปอีกผูค้ําประกันก็พนความรับผิด
(๒) เมื่อหนี้ของลูกหนี้ถึงกําหนดชําระแลว ผูค้ําประกันเอาเงินไปชําระแกเจาหนี้ไวแนนอนแลว
แตเจาหนี้ไมยอมรับโดยไมมีเหตุอันจะอางกฎหมายไดผูค้ําประกันก็หลุดพนจากความรับผิดเชนเดียวกัน
Page 7
ค. จํานอง
จํานองก็เปนหลักประกันอีกประการหนึ่ง จํานอง คือ การที่ใครคนหนึ่งเรียกวา ผูจํานอง เอา
อสังหาริมทรัพยอันไดแกที่ดินบานเรือนเปนตนไปตราไวแกบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวาผูรับจํานอง หรือ
นัยหนึ่งผูจํานองเอาทรัพยสินไปทําหนังสือจดทะเบียนตอเจาพนักงานเพื่อเปนการประกันการชําระหนี้ของ
ลูกหนี้โดยไมตองสงมอบทรัพยที่จํานองใหเจาหนี้ผูจํานองอาจเปนตัวลูกหนี้เองหรือจะเปนบุคคลภายนอก
ก็ได เชน นายดํากูเงินนายแดง ๑๐๐,๐๐๐บาท เอาที่ดินของตนเองจํานองหรือนายเหลืองซึ่งเปนบุคคล
ภายนอกเอาที่ดินจํานองจดทะเบียนที่สํานักงานที่ดินเปนประกันหนี้ของนายดําก็ทําไดเชนเดียวกัน เมื่อ
จํานองแลวถาลูกหนี้ไมชําระหนี้เจาหนี้ก็มีอํานาจยึดทรัพยที่จํานองออกขายทอดตลาดเอาเงินชําระหนี้ได
และมีสิทธิพิเศษไดรับชําระหนี้กอนเจาหนี้ธรรมดาทั่วไป
กูเงินแลวมอบโฉนด หรือ น.ส.๓ใหเจาหนี้ยึดไวมิใชจํานอง เจาหนี้ไมมีสิทธิพิเศษเปนเพียง
เจาหนี้ธรรมดาแตมีสิทธิยึดโฉนดหรือน.ส.๓ไวตามขอตกลงจนกวาลูกหนี้ชําระหนี้ฉะนั้นถาจะทําจํานองก็
ตองจดทะเบียนใหถูกตอง
ทรัพยสินที่จํานอง
ทรัพยสินที่จํานองไดคืออสังหาริมทรัพยอันหมายถึงทรัพยที่ไมสามารถเคลื่อนที่ไดเชนที่ดิน
บานเรือน เรือกสวนไรนา เปนตน นอกจากนั้นสังหาริมทรัพยที่เคลื่อนที่ไดบางอยาง เชน เรือกําปน
เรือกลไฟ แพที่อยูอาศัยและสัตวพาหนะถาไดจดทะเบียนไวแลวก็อาจนํามาจํานองไดดุจกันเมื่อเจาของ
ทรัพยนําไปจํานองไมจําเปนตองสงมอบทรัพยที่จํานองใหแกเจาหนี้เจาของยังคงครอบครองใชประโยชน
เชนอาศัยอยูในบานหรือทําสวนไรหาผลประโยชนไดตอไปนอกจากนั้นอาจจะโอนขายหรือนําไปจํานอง
เปนประกันหนี้รายอื่นตอไปก็ยอมไดสวนเจาหนี้นั้นการที่ลูกหนี้นําทรัพยไปจดทะเบียนจํานองก็นับไดวา
เปนประกันหนี้ไดอยางมั่นคงไมจําเปนตองเอาทรัพยนั้นมาครอบครองเอง
ผูจํานองตองระวัง
ผูมีสิทธิจํานองได คือเจาของหรือผูมีกรรมสิทธในทรัพยสิน ถาเจาของจํานองทรัพยสินดวยตน
เองก็ไมมีปญหา แตถามอบอํานาจใหผูอื่นไปทําการจํานองแทน บางกรณีก็อาจเกิดปญหาได ขอควร
ระมัดระวังคือควรเขียนใบมอบฉันทะหรือใบมอบอํานาจใหชัดเจนวาทําการจํานองไมควรเซ็นแตชื่อแลว
ปลอยวางไวอันบุคคลอื่นนั้นอาจกรอกขอความเอาเองแลวนําไปทําประการอื่นอันไมตรงตามความประสงค
ของเรา เชน อาจเพิ่มเติมขอความวามอบอํานาจใหโอนขาย แลวขายเอาเงินไปใชประโยชนสวนตัวเสีย
เปนตนเราผูเปนเจาของทรัพยผูมอบอํานาจอาจจะตองถูกผูกพันตามสัญญาซื้อขายนั้นเพราะถือวาประมาท
เลินเลออยูดวย
Page 8
ผูรับจํานองตองระวัง
ผูรับจํานองทรัพยสินก็ตองระมัดระวังเชนกัน ควรติดตอกับเจาของทรัพยหรือเจาของที่ดินโดย
ตรง และควรตรวจดูที่ดินทรัพยสินที่จํานองวามีอยูจริงตรงกับโฉนด เคยปรากฏวามีผูนําโฉนดที่ดินไป
ประกันผูตองหาหรือจําเลยแตที่ดินตามโฉนดนั้นกลับเปนถนนเหลือจากการจัดสรรหรือที่ดินตามโฉนดนั้น
พังลงน้ําไปหมดแลวดังนั้นผูรับจํานองจึงไมควรรับจํานองหรือติดตอสัญญากับคนอื่นหรือผูที่อางวาเปน
ตัวแทนเพราะถาปรากฏในภายหลังวาบุคคลนั้นทําใบมอบฉันทะหรือใบมอบอํานาจปลอมขึ้นแลวนําที่ดิน
ของผูอื่นมาจํานองโดยชําระหนี้ใหแกเจาหนี้มิฉะนั้นเจาหนี้ก็มีสิทธิที่จะบังคับจํานองยึดทรัพยเอาที่ดินออก
ขายทอดตลาดซึ่งถาผูรับโอนสูราคาไมไดทรัพยหลุดมือไปเปนของคนอื่นดังนั้นที่ซื้อมาก็เสียเงินเปลา
ผูรับโอนและผูรับจํานองซอนก็ตองระวัง
ทรัพยที่จํานองนั้นเจาของจะนําไปจํานองซ้ํา หรือโอนขายตอไปก็ยอมทําได ผูรับจํานองคนหลัง
ตองพิจารณาวาทรัพยนั้นเมื่อขายทอดตลาดจะมีเงินเหลือพอชําระหนี้ของตนหรือไมเพราะเจาหนี้คนแรกมี
สิทธิไดรับชําระหนี้กอน คนหลังมีสิทธิแตเพียงจะไดรับชําระหนี้เฉพาะสวนที่เหลือ ผูรับโอนหรือผูซื้อ
ทรัพยที่จํานองก็ตองระวังเชนเดียวกัน เพราะรับโอนทรัพยโดยมีภาระจํานองก็ตองไถถอนจํานองโดยชําระ
หนี้ใหแกเจาหนี้มิฉะนั้นเจาหนี้ก็มีสิทธิที่จะบังคับจํานองยึดทรัพยเอาที่ดินออกขายทอดตลาดซึ่งถาผูรับโอน
สูราคาไมไดทรัพยหลุดมือไปเปนของคนอื่นดังนั้นที่ซื้อมาก็เสียเงินเปลา
Page 9
ง. จํานํา
สัญญาจํานําคือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกวาผูจํานําสงมอบสังหาริมทรัพยใหแกบุคคลอีกคน
หนึ่งเปนผูครอบครองเรียกวาผูรับจํานําเพื่อประกันการชําระหนี้ทรัพยสินที่จํานําไดคือทรัพยสินที่สามารถ
เคลื่อนที่ไดเชนวิทยุโทรทัศนชางมาโคกระบือและเครื่องทองรูปพรรณสรอยแหวนเพชรเปนตน
ตัวอยางเชนนายกกูเงินนายขจํานวน๕๐,๐๐๐บาทเอาแหวนเพชรหนึ่งวงมอบใหนายขยึดถือ
ไวเปนประกันการชําระหนี้เรียกวานายกเปนผูจํานําและนายขเปนผูรับจํานําผูจํานําอาจเปนบุคคลภาย
นอกเชนถาแทนที่นายกจะเปนผูสงมอบแหวนเพชรใหเจาหนี้กลับเปนนายคก็เรียกวาเปนผูจํานําผูจํานํา
ไมจําเปนตองเปนลูกหนี้เสมอไป
ผูรับจํานําตองระวัง
ผูจํานําตองเปนเจาของทรัพยคือมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่จํานําใครอื่นจะเอาทรัพยของเขาไป
จํานําหาไดไมเพราะฉะนั้นถายักยอก ยืมหรือลักทรัพยของเขามาหรือไดทรัพยของเขามาโดยไมชอบดวย
กฎหมายประการอื่นแลวเอาไปจํานําเจาของอันแทจริงก็ยอมมีอํานาจติดตามเอาคืนไดโดยไมตองเสียคาไถ
เพราะฉะนั้นผูรับจํานําตองระวังควรรับจํานําจากบุคคลที่รูจักและเปนเจาของทรัพยเทานั้นมิฉะนั้นอาจจะ
เสียเงินเปลาๆ
สิทธิหนาที่ผูรับจํานํา
เมื่อรับจํานําแลวทรัพยสินที่จํานําก็อยูในความครอบครองของผูรับจํานําตลอดไป จนกวาผูรับ
จํานําจะรับคืนไปโดยการชําระหนี้ในระหวางนั้น
ผูรับจํานํามีหนาที่เกี่ยวกับทรัพยสินที่จํานําบางประการ
๑. ตองเก็บรักษาและสงวนทรัพยที่จํานําใหปลอดภัยไมใหสูญหายหรือเสียหายเชน รับจํานํา
แหวนเพชรก็ตองเก็บในที่มั่นคงถาประมาทเลินเลอวางไวไมเปนที่เปนทางคนรายลักไปอาจจะตองรับผิดได
๒. ไมเอาทรัพยที่จํานําออกไปใชเองหรือใหบุคคลภายนอกใชสอยหรือเก็บรักษามิฉะนั้นถาเกิด
ความเสียหายใดๆขึ้นตองรับผิดชอบเชนเอาแหวนที่จํานําสวมใสไปเที่ยวถูกคนรายจี้เอาไปก็ตองใชราคา
ใหเขา
๓. ทรัพยสินที่จํานําบางอยาง ตองเสียคาใชจายในการบํารุงรักษา เชน จํานําสุนัขพันธุดี โค
กระบือหรือมาแขงอาจจะตองเสียคาหญาอาหารและยารักษาโรค ผูจํานําตองชดใชแกผูรับจํานํามิฉะนั้น
ผูรับจํานําก็มีสิทธิยึดหนวงทรัพยที่จํานําไวกอนไมยอมคืนใหจนกวาจะไดรับชําระหนี้ครบถวน
Page 10
การบังคับจํานํา
เมื่อหนี้ถึงกําหนดลูกหนี้ไมชําระหนี้ผูรับจํานําก็มีสิทธิบังคับจํานําไดคือ
๑. เอาทรัพยสินที่จํานําออกขายทอดตลาด คือกระทําไดเองไมตองขออํานาจซึ่งตามธรรมดาก็ให
บุคคลซึ่งมีอาชีพทางดําเนินธุรกิจขายทอดตลาดเปนผูขาย แตกอนที่จะขายทอดตลาดผูรับจํานําจะตองบอก
กลาวเปนหนังสือไปยังลูกหนี้กอนใหชําระหนี้และหนี้ที่เกี่ยวเนื่องกันเชนดอกเบี้ยคารักษาทรัพยที่จํานํา
เปนตนภายในเวลาอันสมควร
๒. ถาผูรับจํานําไมบังคับตามวิธีที่ ๑เมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้เพื่อไถถอนทรัพยที่จํานําคืนไป
เจาหนี้ผูรับจํานํายื่นฟองตอศาลใหขายทอดตลาดทรัพยที่จํานําก็ยอมไดไมมีอะไรหาม
ขอสังเกต
(๑) เงินที่ไดจากการขายทอดตลาดตองนํามาชําระหนี้พรอมดวยอุปกรณคือคาใชจายตางๆถามี
เงินเหลือก็คืนแกผูจํานําไปเพราะเปนเจาของทรัพย ถามีเจาหนี้หลายคนผูรับจํานําก็มีสิทธิไดรับชําระหนี้
กอนเจาหนี้อื่น
(๒) เมื่อถึงกําหนดชําระหนี้แลวคูสัญญาจะตกลงกันใหทรัพยสินที่จํานําตกเปนของผูรับจํานําก็
ยอมทําไดถือวาเปนการชําระหนี้ดวยของอื่นแตจะตกลงกันเชนนี้ในขณะทําสัญญาจํานําหรือกอนหนี้ถึง
กําหนดหาไดไม
Page 11
จ. ซื้อขาย
ในชีวิตประจําวันของเราแตละคนนั้น ตองทําสัญญากันวันละหลายๆครั้ง ในบางครั้งเราเองอาจ
จะ ไมรูสึกวาเปนการทําสัญญา เพราะเปนไปในลักษณะของความเคยชินที่เกิดขึ้นในแตละวัน สัญญาที่ทํากัน
บอยมากนั้น ก็ไดแก สัญญาซื้อขาย เพียงแคเราตื่นขึ้นมา เราอาจตองทําสัญญาซื้อยาสีฟน แปรงสีฟน ตอง
ทําสัญญาซื้อขาว รับประทานหรือซื้อเครื่องดื่ม แมแตโคกแกวเดียว ก็ถือวาเราไดทําสัญญาซื้อขายแลว
ดังนั้น เราจะเห็นไดวา การซื้อขายที่ทํากันโดยปกติทั่วไปดังที่ไดยกตัวอยางมานั้นไมไดมีปญหา หรือ
ความสลับซับซอนอะไรมากมาย จนจะทําใหเราตองนึกถึงกฎหมายในเรื่องของสัญญาซื้อขาย แตเนื่องจาก
การซื้อขายทรัพยสินบางอยางในปจจุบันอาจเปนสินทรัพยที่มีราคาคางวด หรือมีความสําคัญตอชีวิตของเรา
อยางมาก กฎหมายจึงกําหนดวิธีการในการซื้อขายทรัพยสินดังกลาวไวเปนพิเศษวา สัญญาซื้อขายทรัพยสิน
ดังกลาวนั้นจะตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ เพื่อที่ผูซื้อหรือผูขายจะไดคิด
ไตรตรองใหรอบคอบกอนที่จะทําการซื้อขายกันใหเสร็จสิ้นไป และเพื่อที่จะไดมีหลักฐานในการซื้อขายกัน
อยางชัดเจน ตลอดทั้งการที่จะรูแนนอนวาใครเปนเจาของทรัพยสิน ดังกลาวนั้น การซื้อขายทรัพยสิน
เหลานี้ก็เชน การซื้อขายบานและที่ดินที่เราใชอยูอาศัย เปนตน
ดังนั้น เราจึงควรทําความเขาใจหลักเกณฑในการซื้อขายทรัพยสินประเภทตางๆ ไวบาง เพื่อ
หลีกเลี่ยงปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได
สําหรับสัญญาซื้อขายนั้น ก็คือ สัญญาที่ผูขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินใหแกผูซื้อ และผูซื้อ
ตกลงวา จะใชราคาทรัพยสินนั้นใหแกผูขาย
การโอนกรรมสิทธิ์ หมายถึง การโอนความเปนเจาของในทรัพยสิน ที่ซื้อขายนั้นไปใหแกผูซื้อ
ผูซื้อเมื่อไดเปนเจาของก็สามารถที่จะใช ไดรับประโยชน หรือจะขายตอไปอยางไรก็ได
สําหรับเรื่องราคาทรัพยสิน จะชําระเมื่อไรนั้นเปนเรื่องที่ผูซื้อผูขายจะตองตกลงกัน ถาตกลงกัน
ใหชําระราคาทันทีก็เปนการซื้อขายเงินสด ถาตกลงกันชําระราคาในภายหลังในเวลาใดเวลาหนึ่งเพียงครั้งเดียว
ตามที่ตกลงกันก็เปนการซื้อขายเงินเชื่อ แตถาตกลงผอนชําระใหกันเปนครั้งคราวก็เปนการซื้อขายเงินผอน สําหรับ
การซื้อขายเงินผอนนั้นเปนที่นิยมมากในปจจุบัน เนื่องจากความตองการในทางวัตถุมีมาก แตรายไดมีนอย
ไมเพียงพอที่จะซื้อสิ่งอํานวยความสะดวกไดทันทีหลายๆอยาง เชน โทรทัศน วิทยุ ตูเย็น วิดีโอ ก็เลย
นิยมที่จะซื้อเงินผอน
อยางไรก็ตาม โดยปกติในการทําสัญญาซื้อขายทรัพยสินนั้นทันทีที่ทําสัญญา กรรมสิทธิ์ในทรัพย
สินชิ้นนั้นก็จะโอนไปยังผูซื้อทันที แมวาจะยังไมไดสงมอบทรัพยสินชิ้นนั้นใหผูซื้อหรือแมผูซื้อจะยังไมไดชําระ
เงินคาทรัพยสินนั้นก็ตาม ผูซื้อก็ไดความเปนเจาของไปแลว ยกเวนแตในกรณีของการซื้อเงินผอนนั้น ผูซื้อ
และผูขายอาจจะตกลงกันวาเมื่อผอนชําระเงินกันเสร็จแลว กรรมสิทธิ์คอยโอนไปเชนนี้ก็ทําได แตเนื่องจาก
การซื้อเงินผอนนี้ ผูซื้อมักไดทรัพยสินไปใชกอน แลวคอยๆผอนใชราคาทรัพยสินที่จะตองจายจึงมักจะ
รวมดอกเบี้ยไปดวย ทําใหผูซื้อซื้อทรัพยสินนั้นในราคาที่แพงกวาทองตลาดหรือเมื่อซื้อเปนเงินสด ดังนั้น
Page 12
หากผูซื้อไมลําบากจนเกินไปในการซื้อเปนเงินสดแลว ก็ควรจะซื้อเปนเงินสด จะไดประหยัดไมตองซื้อ
ของแพง
๑. หลักเกณฑในการทําสัญญาซื้อขาย
(๑) ตองมีบุคคล คือ ตัวผูซื้อและตัวผูขาย ซึ่งทั้งสองคนนั้นจะตองมีความคิด สติปญญาพอสม
ควรที่จะตัดสินใจทําสัญญากันไดเอง ซึ่งก็คือ ตองเปนคนบรรลุนิติภาวะ โดยปกติก็คือมีอายุ ๒๐ ป
บริบูรณ
(๒) ผูซื้อตองมีความตองการที่จะซื้อและผูขายตองมีความตองการที่จะขายทรัพยสินสิ่งนั้นจริง
ๆโดยทั้งสองฝายไดแสดงความตองการของตนใหอีกฝายหนึ่งรูดวย
(๓) ผูซื้อและผูขายตองมีเปาหมายในการทําสัญญาซื้อขาย ซึ่งก็คือ ผูซื้อมีเปาหมายที่จะได
กรรมสิทธิ์หรือความเปนเจาของทรัพยสินนั้น สวนผูขายก็มีเปาหมายที่จะไดเงินหรือราคาของทรัพยสินนั้น
และเปาหมายของทั้งสองฝายนี้จะตองไมมีกฎหมายหาม ไมขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน และตองเปนเปาหมายที่อาจจะเกิดขึ้นไดดวย ตัวอยาง แดงทําสัญญาซื้อเฮโรอีนจากดํา สัญญา
ซื้อขายนี้บังคับกันไมได เพราะการซื้อขายเฮโรอีนมีเปาหมายที่ผิดกฎหมาย หรือเขียวทําสัญญาซื้อบานจาก
เหลืองเพื่อทําเปนซองโสเภณี สัญญาซื้อขายนี้ก็บังคับไมไดเพราะเปนเปาหมายขัดตอความสงบเรียบรอยของ
ประชาชน หรือขาวทําสัญญาขายเด็กหญิงฟา ซึ่งเปนบุตรสาวใหกับน้ําเงิน สัญญาซื้อขายนี้ก็บังคับไมได
เพราะมีเปาหมายขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชน
(๔) ผูขายตองโอนกรรมสิทธิ์ใหกับผูซื้อ เราตองเขาใจดวยวาการโอนกรรมสิทธิ์นี้ ตัว
กรรมสิทธิ์เปนสิ่งที่ไมมีตัวตนแตเปนสิ่งที่กฎหมายสมมติขึ้น การโอนกรรมสิทธิ์จึงอาจจะเกิดขึ้น แมวาผูซื้อ
จะยังไมไดรับมอบทรัพยไปไวใชสอยหรือไปไวในความครองครองก็ตาม
(๕) ผูซื้อตองตกลงวาจะชําระราคาทรัพยสินนั้นใหกับผูขาย ในกรณีนี้เพียงแตตกลงวาจะชําระ
ก็พอแลว ยังไมจําเปนตองมีการชําระกันจริงๆก็ได
๒. วิธีการในการทําสัญญาซื้อขาย
(๑) วิธีการในการทําสัญญาซื้อขายโดยปกติ คือการที่ผูซื้อและผูขายตางไดแสดงความจํานงวา
ตองการซื้อขายทรัพยสินสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งการแสดงความจํานงนั้นอาจจะทําโดยปากเปลาก็ได หรือทําเปน
ลายลักษณอักษรก็ได หรือโดยวิธีการอยางอื่นก็ได และสําหรับตัวทรัพยสินที่จะซื้อขายกัน โดยวิธีนี้ได คือ
สังหาริมทรัพยธรรมดา ซึ่งก็คือทรัพยสินที่สามารถจะโยกยายเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได เชน
โทรทัศน พัดลม โตะ เกาอี้ รถยนต ปากกา ดินสอ ไมบรรทัด เปนตน สําหรับการซื้อขายทรัพยสิน
ประเภทนี้ เมื่อไมตองทําตามวิธีการเฉพาะอะไร ฉะนั้น เมื่อมีการตกลงซื้อขายกันแลวกรรมสิทธิ์โอนไป
ทันที และการเกิดสัญญาซื้อขายยังเปนการกอใหเกิด “หนี้” ที่ฝาย ผูซื้อและผูขายจะตองชําระใหแกกันอีก
ดวย
Page 13
(๒) วิธีการเฉพาะที่กฎหมายกําหนดไวใหผูซื้อผูขายตองทํา และถาไมทําตามที่กฎหมายกําหนด
ไวแลว สัญญาซื้อขายนั้นแมจะไดตกลงวาจะซื้อจะขายก็ไมอาจบังคับกันได เพราะกฎหมายถือวาเสียเปลา
หรือเปนโมฆะ คือ ใชไมไดนั่นเอง
วิธีการเฉพาะดังกลาวนี้คือ การทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งกฎหมาย
กําหนดไวสําหรับทรัพยสินบางประเภท คือ อสังหาริมทรัพยและสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ ซึ่งขออธิบาย
ใหเขาใจดังนี้
(ก) อสังหาริมทรัพย หมายถึง ทรัพยที่เคลื่อนที่ไมได ไดแก
๑) ที่ดิน
๒) ทรัพยที่ติดกับที่ดินในลักษณะตรึงตราแนนหนาถาวร เชน บานเรือน ตึกแถว อาคาร
สิ่งปลูกสรางซึ่งตรึงตรากับที่ดินอยางถาวร ไมยืนตน เปนตน
๓) ทรัพยซึ่งประกอบเปนอันเดียวกับที่ดิน เชน แมน้ํา ลําคลอง แรธาตุ กรวด ทราย
เปนตน
๔) สิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เชน ภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเก็บ
กิน และสิทธิจํานอง เปนตน
(ข) สังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ ไดแก
๑) เรือกําปน หรือเรือมีระวางตั้งแต ๖ ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนตมีระวางตั้งแต
๕ ตันขึ้นไป
๒) แพ หมายความเฉพาะแตแพที่เปนที่อยูอาศัยของคน
๓) สัตวพาหนะ หมายความถึงสัตวที่ใชในการขับขี่ลากเข็ญ และบรรทุก ซึ่งสัตวเหลานี้
ตองทําตั๋วรูปพรรณแลว ไดแก มา ชาง โค กระบือ
สําหรับสถานที่รับจดทะเบียนตามประเภทของทรัพย คือ
๑. ที่ดิน
(ก) ถาเปนที่ดินมีโฉนด ตองไปขอจดทะเบียนตอเจาพนักงานที่ดิน ณ สํานักงานที่ดินจังหวัด
หรือ สํานักงานที่ดินสาขา
(ข) ถาเปนที่ดินมีหนังสือสําคัญอยางอื่น เชน น.ส.๓ ตองไปขอจดทะเบียนตอนายอําเภอ ณ
ที่วาการอําเภอ
(ค) ถาเปนการจดทะเบียนเกี่ยวกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่น เชน จดทะเบียนเชาอาคาร
บานเรือน ตองไปขอจดทะเบียนตอนายอําเภอ ณ ที่วาการอําเภอ แตถาจดทะเบียนโรงเรือนรวมกับที่ดินมี
โฉนด ตองไปขอจดทะเบียนที่สํานักงานที่ดินจังหวัด หรือถาจดทะเบียนรวมกับที่ดินที่มี น.ส.๓ ก็ตองไปขอ
จดทะเบียน ณ สํานักงานที่ดินจังหวัดหรือสํานักงานที่ดินสาขาดวยเชนกัน
Page 14
การขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามความดังกลาว สําหรับที่ดินมีโฉนด หรือหนังสือรับรอง
การทําประโยชน คูกรณีอาจยื่นคําขอตอพนักงานเจาหนาที่ ณ กรมที่ดิน เพื่อใหพนักงานเจาหนาที่ดังกลาว
ดําเนินการจดทะเบียนใหก็ได เวนแตการจดทะเบียนที่ตองมีการประกาศหรือตองมีการรังวัด
๒. เรือ การจดทะเบียน การเปลี่ยนใบอนุญาต และการเปลี่ยนชื่อเจาของเรือตองทําตอ
นายทะเบียน ณ กรมเจาทา
๓. แพ ตองจดทะเบียนตอนายอําเภอ ณ ที่วาการอําเภอ หรือเขต
๔. สัตวพาหนะ ตองจดทะเบียนตอนายอําเภอ หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากรัฐมนตรีผูรักษาการ
ณที่วาการอําเภอ
๓. สาระสําคัญของสัญญาซื้อขาย
(ก) ตองมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่ซื้อขาย
ปญหาวากรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่ซื้อขายนั้นโอนไปเมื่อไร
หลัก กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นจะโอนไปยังผูซื้อตั้งแตเมื่อไดตกลงทําสัญญาซื้อขายกัน
ขอยกเวน กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นยังไมโอนไป ในกรณีดังตอไปนี้
๑) สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดที่มีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลา ซึ่งกรรมสิทธิ์จะโอนก็ตอเมื่อเกิด
เงื่อนไขหรือถึงกําหนดเงื่อนเวลา
สําหรับสัญญาซื้อขายที่มีเงื่อนไขนั้น หมายถึง การที่ผูซื้อผูขายตกลงกันเอาเหตุการณใน
อนาคตที่ ไมแนนอนบางอยางมากําหนดไววา ถาเหตุการณนั้นเกิด กรรมสิทธิ์ก็โอน เพราะฉะนั้น
กรรมสิทธิ์จึงยังไมโอนจนกวาเหตุการณนั้นเกิด ตัวอยางเชน จอยตกลงซื้อเครื่องสีขาวโดยผอนใชเงินกับ
ดวง โดยมีขอตกลงกันวา เครื่องสีขาวยังเปนของดวงอยูจนกวาจะใชเงินเสร็จ เชนนี้ตราบใดที่จอยยังไมใช
เงินจนครบจํานวนก็จะไมไดกรรมสิทธิ์ในเครื่องสีขาวนั้น
สวนสัญญาซื้อขายที่มีเงื่อนเวลานั้น หมายถึง การที่ผูซื้อผูขายตกลงกันใหกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพยสินที่ ซื้อขายนั้นโอนไปเมื่อถึงเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งไดกําหนดไว ตัวอยางเชน นายดําขายขาวให
นายขาว แตตกลงกันวาใหกรรมสิทธิ์ในขาวนั้นโอนไปยังนายขาวเมื่อถึงสิ้นเดือนสิงหาคม เชนนี้ตราบใดที่
ยังไมถึงสิ้นเดือนสิงหาคม กรรมสิทธิ์ในขาวนั้นก็ยังไมโอนไปยังนายขาว
๒) สัญญาซื้อขายทรัพยที่ยังไมเปนทรัพยเฉพาะสิ่ง หมายถึง สัญญาซื้อขายทรัพยสินที่ยัง
ไมไดกําหนดประเภทหรือจํานวนไวแนนอนวาอันไหน สิ่งไหน ตัวไหน ในกรณีเชนนี้กรรมสิทธิ์จะโอนก็
ตอเมื่อไดทําใหเปนทรัพยเฉพาะสิ่งแลว โดยการนับ ชั่ง ตวง วัด หรือคัดเลือกทรัพย เพื่อใหเกิดความ
แนนอนวาชิ้นไหน อันไหน ตัวไหน หรือจํานวนไหน ตัวอยางเชน ตกลงซื้อมะพราว ๕๐ ลูก ซึ่งรวมอยู
ในกองใหญ กรรมสิทธิ์ยังไมโอนจนกวาจะเลือกมะพราว ๕๐ ลูกนั้นออกมาจากกองกอน
๓) สัญญาซื้อขายทรัพยเฉพาะสิ่งที่ยังตองดําเนินการบางอยางเพื่อใหรูราคาแนนอน ใน
กรณีนี้กรรมสิทธิ์ยังไมโอนไปจนกวาจะไดมีการกระทํา เพื่อใหรูราคานั้นกอน ตัวอยางเชน ซื้อมะพราว
Page 15
ทั้งกองในราคาลูกละ ๑ บาท ความจริงมะพราวทั้งกองนั้นก็เปนทรัพยเฉพาะสิ่งแลว เพียงแตยังไมทราบวา
มะพราวทั้งกองนั้น มีกี่ลูกเพื่อที่จะคํานวณราคาเทานั้น เพราะฉะนั้นจะตองรูกอนวามะพราวกองนั้นมีกี่ลูก
กรรมสิทธิ์จึงจะโอน
๔) การซื้อขายอสังหาริมทรัพยหรือสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษกรรมสิทธิ์จะโอนก็ตอเมื่อมี
การทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่เรียบรอยแลว
(ข) ตองมีการตกลงวาจะชําระราคา เพียงแตตกลงกันวาจะชําระราคาก็เปนการเพียงพอแลว
ยังไมตองชําระราคากันทันที จะตกลงชําระกันในภายหลัง หลังจากที่สัญญาเกิดขึ้นแลวก็ได
(ค) บุคคลที่มีสิทธิทําสัญญา ดังไดกลาวมาในตอนแรกแลววาทั้งผูซื้อและผูขายจะตองเปนคน
บรรลุ นิติภาวะ คืออายุ ๒๐ ปบริบูรณ หรือบรรลุนิติภาวะโดยการสมรส ถาทั้งชายและหญิงตางมีอายุ ๑๗
ปบริบูรณแลว อยางไรก็ตาม เหตุการณที่เราพบกันอยูในชีวิตประจําวัน จะเห็นวาผูเยาวหรือคนที่ยังไมบรรลุ
นิติภาวะตางก็ไปทําสัญญาซื้อขายตางๆมากมาย เชน ซื้อสมุด ดินสอ ยางลบ หรืออาหารกลางวันรับ
ประทานที่โรงเรียนตรงนี้ปญหาวาเขาจะทําไดหรือไม คําตอบอยูในบทยกเวนในเรื่องการทํานิติกรรมของผูเยาว
ซึ่งในกรณีเหลานี้ถือวาสามารถที่จะทําได เพราะเปนการกระทําที่สมแกฐานานุรูปและจําเปนแกการดํารงชีพ
ดวย
สําหรับผูซื้อนั้น เมื่อมีคุณสมบัติที่กลาวขางตนก็พอเพียงที่จะเปนผูซื้อแลว สําหรับผูขายนั้นเพียง
แตบรรลุนิติภาวะอยางเดียวยังไมพอ ยังตองเปนผูมีสิทธิที่จะขายทรัพยสินนั้น เพื่อที่ผูซื้อจะไดกรรมสิทธิ์โดย
สมบูรณไดอีกดวย
สําหรับผูที่ถือวา “มีสิทธิที่จะขายทรัพยสิน” นั้น ไดแก
๑) เจาของกรรมสิทธิ์ หมายถึง ผูที่เปนเจาของทรัพยสินที่จะขายนั่นเอง ซึ่งตามหลักกฎหมาย
แลว ผูที่เปนเจาของกรรมสิทธิ์ยอมมีอํานาจในการจําหนายจายโอนทรัพยสินของตน ซึ่งคําวา “จําหนาย” ในที่
นี้หมายถึง การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นไมวาโดยการกระทําใดๆก็ตาม เพราะฉะนั้นในเวลาที่จะทําสัญญา
ซื้อขาย ผูซื้อก็จะตองมีความระมัดระวังพิจารณาดูใหดีวาผูขายเปนเจาของกรรมสิทธิ์หรือไม เพราะถาไมเปน
หากผูซื้อทําการซื้อไปก็จะไมไดกรรมสิทธิ์ ตามหลักเรื่อง “ผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน” เพราะถาผูโอนหรือ
ผูขายในกรณีนี้ไมมีกรรมสิทธิ์ ผูรับโอนหรือผูซื้อก็ยอมไมมีกรรมสิทธิ์ไปดวย ตัวอยางเชน นายแดงซื้อเรือมาด
จากนายดําซึ่งเปนเรือมาดที่นายดําขโมยนายขาวมา เมื่อนายดําไมมีกรรมสิทธิ์ ไปขายใหนายแดง นายแดงก็ไมได
กรรมสิทธิ์ไปดวย เพราะเจาของกรรมสิทธิ์ที่แทจริงของเรือมาดลํานี้คือนายขาว
๒) บุคคลอื่นซึ่งมีสิทธิขายไดตามกฎหมาย เชน
๒.๑) ผูจัดการมรดก ซึ่งมีหนาที่ตามกฎหมายที่จะรวบรวมทรัพยสินของเจามรดกผูตาย
เพื่อชําระหนี้ และแบงปนใหแกทายาท
๒.๒) ผูใชอํานาจปกครอง ซึ่งมีสิทธิขายอสังหาริมทรัพยของผูอยูใตอํานาจปกครอง
เชน ของผูเยาว แตจะขายไดก็ตอเมื่อไดรับอนุญาตจากศาลแลว
๒.๓) เจาพนักงานขายทอดตลาดบังคับคดี มีสิทธิขายทอดตลาดทรัพยสินของลูกหนี้
ตามคําสั่งศาล
Page 16
๒.๔) เจาพนักงานพิทักษทรัพย มีอํานาจจัดการทรัพยสินของลูกหนี้ผูที่ถูกศาล
พิพากษาใหลมละลาย และมีอํานาจขายทรัพยสินของลูกหนี้ผูที่ถูกศาลพิพากษาใหลมละลายได
๔. หนาที่และความรับผิดของผูขาย
เมื่อสัญญาซื้อขายเกิดขึ้นแลว กลาวคือเมื่อมีการแสดงเจตนาที่ประสงคตองตรงกันระหวางผูซื้อกับ
ผูขาย(ที่บรรลุนิติภาวะแลว) ในทรัพยสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เพื่อที่ผูซื้อจะไดไปซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพยและเพื่อที่ผูขาย
จะไดรับราคาของทรัพยนั้น ดังนี้ เราเรียกวา สัญญาไดเกิดขึ้นแลว และผูขายก็มี “หนี้” หรือ “หนาที่” ที่จะ
ตองปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายตอไป ถาผูขายบิดพลิ้ว ไมยอมปฏิบัติตามนั้นยอมกอใหเกิด “ความรับผิด” ตามมา
สําหรับ “หนี้” หรือ “หนาที่” ของผูขายนั้น ไดแก
(๑) การสงมอบ ผูขายตองสงมอบทรัพยสินที่ขายใหแกผูซื้อดวยความสมัครใจ ซึ่งจะสงมอบดวยวิธี
การใดๆ ก็ได ขอเพียงใหทรัพยสินนั้นเขาไปอยูในเงื้อมมือของผูซื้อก็พอแลว เชน การสงมอบหนังสือ อาจใช
วิธียื่นใหการสงมอบรถยนต อาจใชวิธีสงมอบกุญแจก็ได แตที่สําคัญคือวาจะตองสงมอบภายในเวลาและ ณ สถาน
ที่ที่ตกลงกันไว ถาไมมีการตกลงกันและทรัพยที่ซื้อขายนั้นเปนทรัพยเฉพาะสิ่งแลว ตามกฎหมายผูขายตอง
สงมอบ ณ สถานที่ที่ทรัพยนั้นอยูในเวลาที่ทําสัญญาซื้อขาย แตถาไมใชทรัพยเฉพาะสิ่ง ตองสงมอบ ณ
ภูมิลําเนาปจจุบันของผูซื้อ
ผูขายตองสงมอบทรัพยสินตามจํานวนที่ตกลงกันไวไมมากเกินไป หรือไมนอยเกินไป และตอง
ไมนําทรัพยอื่นมาปะปนดวย เพราะถาสงมอบนอยเกินไปสําหรับสังหาริมทรัพย ผูซื้อมีทางเลือก ๒ ทาง
คือ (ก) ไมรับมอบไวเลย หรือ (ข) รับมอบไว แตใชราคานอยลงตามสวนของทรัพยสินที่สงมอบ แต
ถาสงมอบมากเกินไปสําหรับสังหาริมทรัพย ผูซื้อมีทางเลือก ๓ ทางคือ (ก) อาจจะรับไวเฉพาะตาม
จํานวนที่ตกลงกันในสัญญา และสวนที่เกินก็ไมรับเลยได (ข) ไมรับทั้งหมดเลย หรือ (ค) รับไวทั้งหมด
แตตองใชราคาสําหรับสวนที่รับเกินไวดวย สวนกรณีที่ผูขายสงมอบทรัพยสินตามสัญญาปะปนกับทรัพยสิน
อื่นๆ มาดวย ผูซื้อมีทางเลือก ๒ ทางคือ(ก) รับมอบเฉพาะทรัพยสินตามที่ตกลงในสัญญา และไมรับ
มอบ ทรัพยสินสวนที่ปะปนมา หรือ (ข) ไมรับมอบไวเลยไมวาสวนที่เปนไปตามสัญญาหรือสวนที่ปน
เขามา ก็ตาม
แตถาการสงมอบทรัพยสินที่มากเกินไปหรือนอยเกินไปนั้นเปนอสังหาริมทรัพย ผูซื้อมีทางเลือก
๒ ทางคือ (๑) รับมอบเฉพาะทรัพยตามจํานวนที่สัญญากันไว แลวใชราคาตามจํานวนที่รับไวจริง หรือ
(๒) ไมรับมอบไวเสียเลย
(๒) ผูขายตองสงมอบทรัพยสินที่ไมชํารุดบกพรอง ซึ่งความชํารุดบกพรองในที่นี้หมายถึง
ลักษณะที่ทรัพยสินที่ซื้อขายในตัวของมันเองมีความชํารุดหรือมีความบกพรองอยูจนเปนเหตุใหทรัพยนั้น
ราคาตกหรือไมเหมาะแกการใชประโยชนตามปกติหรือตามสภาพของทรัพยสินนั้น และความชํารุดหรือ
ความบกพรองนี้จะตองมีอยูกอนหรือในเวลาที่ทําสัญญาซื้อขายเทานั้น ตัวอยางเชน นายเขียวซื้อแจกันจาก
นายเหลืองหนึ่งใบในราคา ๕๐ บาท ปรากฏวากอนสงมอบหรือขณะสงมอบนั้นแจกันเกิดราวขึ้นมา
Page 17
นายเหลืองผูขายก็จะตองรับผิดไมวาจะรูหรือไมรูวามีความชํารุดบกพรองอยูก็ตาม ยิ่งถารูหรือเปนคนทําให
ทรัพยสินที่ซื้อขายนั้นชํารุดบกพรองเองดวยแลวยิ่งตองรับผิดเลยทีเดียว
อยางไรก็ตาม ในบางกรณีแมทรัพยสินที่ซื้อขายนั้นจะชํารุดบกพรองมากอน หรือในขณะที่ซื้อ
ขายกัน ผูขายอาจจะไมตองรับผิด ในกรณี
๑) ถาผูซื้อไดรูอยูแลวในเวลาซื้อขายวามีความชํารุดบกพรองหรือควรจะไดรู ถาเขาใช
ความระมัดระวังตามปกติ ตัวอยางเชน ผูซื้อเห็นทุเรียนเนาอยูแลวในเวลาซื้อขาย หรือผูขายเจาะไวใหดู
ควรจะดูก็ไมดู กลับซื้อไป ผูขายก็ไมตองรับผิด
๒) ถาความชํารุดบกพรองนั้นไดเห็นอยูแลวในเวลาสงมอบและผูซื้อรับไวโดยมิไดทัก
ทวงประการใด
๓) ถาผูซื้อทรัพยสินนั้นจากการขายทอดตลาด เพราะในการขายทอดตลาดนั้นเปนการ
ขายที่เปดเผยตอสาธารณะ ผูซื้อนาจะไดมีโอกาสตรวจสอบกอนแลว
๔) ทั้งผูซื้อและผูขายไดตกลงกันไววา ผูขายไมตองรับผิดในความชํารุดบกพรองของ
ทรัพยสินที่ซื้อขาย
(๓) ผูขายมีหนาที่ตองสงมอบทรัพยสินที่ปลอดจากการถูกรอนสิทธิ กลาวคือเมื่อผูขายสงมอบ
ทรัพยสินที่ซื้อขายไปแลว ผูซื้อจะตองไมถูกคนอื่นมารบกวนขัดสิทธิในการครองทรัพยสินนั้นโดยปกติสุข
ตัวอยางเชนนายแดงซื้อเรือมาดจากนายดํา ตอมานายขาวอางวาตนเปนเจาของเรือมาดที่แทจริง เพราะนายดํา
ไดขโมยเรือมาดของตนไป ดังนี้ ถือวาเปนกรณีที่บุคคลภายนอกเขามาอางวาตนมีสิทธิดีกวาผูซื้อ เทากับผูซื้อ
คือนายแดงถูกรอนสิทธิแลว
อยางไรก็ตาม มีบางกรณีที่ผูขายไมตองรับผิดเมื่อผูซื้อถูกรอนสิทธิ คือ
๑) ผูซื้อรูอยูแลวในเวลาซื้อขายวาบุคคลภายนอกมีสิทธิดีกวาเทากับสมัครใจยอมรับผลที่จะ
เกิดตามมา
๒) ถาการรอนสิทธิเกิดจากความผิดของผูซื้อเอง ในกรณีดังตอไปนี้
๒.๑) เมื่อไมมีการฟองคดีและผูขายพิสูจนไดวาสิทธิของผูซื้อไดสูญไปเพราะผูซื้อเอง
ตัวอยางเชน ผอมซื้อของมาจากอวน ตอมาโองมาบอกวาของนั้นเปนของโอง ผอมก็เชื่อและใหของนั้นแกโอง
ไปโดยไมถามอวน เชนนี้อวนไมตองรับผิด
๒.๒) เมื่อมีการฟองคดี และผูซื้อไมไดเรียกผูขายเขามาในคดี ทั้งผูขายยังพิสูจนได
วาถาไดเรียก เขามาในคดี คดีฝายผูซื้อจะชนะดังนี้ ผูขายก็ไมตองรับผิด
๒.๓) เมื่อมีการฟองคดี และผูขายไดเขามาในคดีแลว แตศาลยกคํารองเพราะความ
ผิดของผูซื้อเอง เชน ผูซื้อขาดนัด (ไมมาศาลตามเวลาที่ศาลนัดไว) หรือไมนําพยานมาสืบ
๓) มีขอตกลงในสัญญาวาผูขายไมตองรับผิดในการรอนสิทธิ แตขอตกลงไมใหผูขายตอง
รับผิดนี้ไมคุมครองผูขาย ถาการรอนสิทธิเกิดเพราะความผิดของผูขายเอง หรือผูขายรูอยูแลววามีการรอนสิทธิ
แตปกปดเสีย
Page 18
๕. สิทธิของผูซื้อ
เมื่อกลาวถึง “หนี้” หรือ “หนาที่” ของผูขายแลว ยอมตองมีสิทธิของผูซื้ออยูดวยซึ่งไดแก
(๑) สิทธิที่จะไดตรวจตราดูทรัพยสินที่ผูขายสงมอบ
(๒) สิทธิที่จะไมรับมอบทรัพยสินจากผูขาย เมื่อผูขายสงมอบทรัพยสินนั้นนอยเกินไป (ขาดตก
บกพรอง) กวาที่ไดตกลงกัน หรือมากเกินไป (ล้ําจํานวน) กวาที่ไดตกลงกัน
(๓) สิทธิที่จะเรียกใหผูขายปฏิบัติการชําระหนี้หรือปฏิบัติการชําระหนี้ใหถูกตองตรงตามที่ไดตก
ลงกันไว
(๔) สิทธิที่จะยึดหนวงราคา ในกรณีดังตอไปนี้
(ก) ผูซื้อพบเห็นความชํารุดบกพรองในทรัพยสินที่ซื้อ ผูซื้อมีสิทธิที่จะไมชําระราคา จน
กวาผูขายจะหาประกันอันสมควรให
(ข) ผูซื้อถูกผูรับจํานองหรือคนที่จะเรียกรองเอาทรัพยสินที่ขายนั้นขูวาจะฟองเปนคดีหรือมี
สาเหตุที่เชื่อไดวาจะถูกขู ผูซื้อจะชําระราคาใหตอเมื่อผูขายหาประกันให หรือตอเมื่อผูขายไดแกไขใหเปนที่
เรียบรอยแลว
(ค) เมื่อผูขายผิดนัดไมสงมอบทรัพยสินที่ขายให ผูซื้อก็จะยังไมชําระราคาจนกวาผูขายจะ
จัดการสงมอบทรัพยสินที่ขายให
(๕) สิทธิในการไดรับการชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายเมื่อผูขายปฏิบัติการชําระหนี้ไม
ถูกตอง เชน สงมอบทรัพยที่ชํารุดบกพรอง หรือทรัพยที่บุคคลอื่นมีสิทธิเหนือทรัพยนั้นดีกวาผูซื้อ
(ถูกรอนสิทธิ)
(๖) สิทธิในการเลิกสัญญาและเรียกคาเสียหายไดอีก ตามหลักทั่วไป
๖. หนาที่และความรับผิดของผูซื้อ
ผูซื้อมี “หนี้” หรือ “หนาที่” ที่เกิดจากสัญญาซื้อขายเชนเดียวกับผูขาย ซึ่งถาผูซื้อไมปฏิบัติตาม
“หนี้” หรือ “หนาที่” ดังกลาวแลวยอมกอใหเกิด “ความรับผิด” ตามมาในทํานองเดียวกัน
สําหรับหนาที่หลักของผูซื้อ ไดแก
(๑) หนาที่ในการรับมอบทรัพยสินที่ซื้อขายตามเวลา ตามสถานที่และดวยวิธีการตามที่ตกลงกัน
ในสัญญาซื้อขาย เวนแตผูซื้อจะมีสิทธิบอกปดในกรณีที่เปนสังหาริมทรัพยเมื่อผูขายสงมอบทรัพยสินใหมาก
เกินไปหรือนอยเกินไปกวาที่ไดตกลงกัน หรือผูขายสงมอบทรัพยสินตามที่ตกลงกันปะปนกับทรัพยสินอยาง
อื่น หรือในกรณีที่เปนอสังหาริมทรัพย ผูขายสงมอบอสังหาริมทรัพยนั้นมากเกินไปหรือนอยเกินไปจากที่ได
ตกลงกันไว
(๒) หนาที่ในการชําระราคาทรัพยสินที่ซื้อขายตามราคาที่กําหนดไวในสัญญา หรือตามทางการที่
คูสัญญาเคยประพฤติปฏิบัติตอกัน แตถาไมไดกําหนดราคาไวเปนที่แนนอน ผูซื้อก็ตองชําระราคาตามสมควร
Page 19
และการชําระราคาก็ตองชําระภายในเวลาที่กําหนดตามสัญญาดวย แตถาหากไมไดกําหนดเวลาไว ใหชําระ
ราคาในเวลาเดียวกับเวลาที่สงมอบทรัพยสินที่ซื้อขายนั้น
(๓) หนาที่ในการชําระคาธรรมเนียมในการซื้อขาย หากตกลงกันไวในสัญญาวาใหผูซื้อชําระคน
เดียวทั้งหมด แตถาไมไดตกลงกันไว ผูซื้อก็มีหนาที่ตองชําระคาธรรมเนียมครึ่งหนึ่ง
๗. สิทธิของผูขาย
เมื่อกลาวถึง “หนี้” หรือ “หนาที่” ของผูซื้อแลว ยอมตองมีสิทธิของผูขายเคียงคูมาดวย ซึ่งได
แก
(๑) สิทธิที่จะยึดหนวงทรัพยสินนั้นไวจนกวาจะไดรับการชําระราคาจากผูซื้อ ซึ่งการยึดหนวงจะมี
ไดก็ตอเมื่อ ทรัพยสินที่ซื้อขายนั้นยังอยูในความครอบครองของผูขายเทานั้น
(๒) สิทธิที่จะยึดหนวงทรัพยสินนั้นไว ในกรณีที่ผูซื้อกลายเปนคนลมละลายภายหลังการซื้อขาย แต
กอนการสงมอบทรัพยสิน หรือในกรณีที่ผูซื้อลมละลายอยูแลวในเวลาที่ทําการซื้อขายโดยที่ผูขายไมรูถึงการลม
ละลายนั้น หรือผูซื้อทําใหหลักทรัพยที่ใหไวเปนประกัน การชําระราคานั้นเสื่อมเสีย หรือลดนอยถอยลง เชน
นายแสดซื้อตูจากนายสมในวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๓๖ กําหนดสงตูกันในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๓๖ ชําระราคา
วันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๖ ตอมาในวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๓๖ นายแสดถูกศาลสั่งใหเปนคนลมละลาย ดังนี้นาย
สมไมตองสงตูใหนายแสดในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๓๖
(๓) สิทธิที่จะเรียกใหผูซื้อชําระหนี้ ซึ่งถาผูซื้อไมชําระ ผูขายอาจนําทรัพยสินที่ยึดหนวงไวออกขาย
ทอดตลาดก็ได
(๔) สิทธิในการริบมัดจํา (ถาไดมีการใหมัดจํากันไว) และเรียกคาเสียหาย
(๕) สิทธิในการเลิกสัญญา และเรียกคาเสียหายไดอีก
๘. อายุความในการฟองรอง
เมื่อผูขายปฏิบัติการชําระหนี้ หรือปฏิบัติหนาที่ตามสัญญาซื้อขายไมถูกตอง ผูซื้อมีสิทธิที่จะฟองรอง
ตอศาลภายในอายุความตามกรณี ดังตอไปนี้
(๑) ในกรณีที่ผูขายสงมอบทรัพยสินใหมากเกินไปหรือนอยเกินไปกวาที่ตกลงกันในสัญญา ผูซื้อจะ
ตองฟองรองภายใน ๑ ป นับแตเวลาที่สงมอบทรัพยสิน
(๒) ในกรณีที่ผูขายสงมอบทรัพยสินที่ชํารุดบกพรอง ผูซื้อจะตองฟองรองภายใน ๑ ป นับแตเวลาที่
พบเห็นความชํารุดบกพรองนั้น เชน นายดําทําสัญญาซื้อโทรทัศนจากนายเหลือง โดยสงมอบโทรทัศนกัน ใน
วันที่ ๕ เมษายน ๒๕๓๖ และนายดําก็รับมอบไวแลว ตอมาวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๓๖ จึงพาชางมาตรวจสอบดู
ปรากฏวา หลอดภาพเสียใชไมได ดังนี้ นายดําก็ตองฟองคดี เพื่อความชํารุดบกพรองภายในวันที่ ๒๐ เมษายน
๒๕๓๗ การที่ไปตอวาทวงถามเรียกคาเสียหายจากผูขายไมใชการฟองคดี
Page 20
(๓) ในกรณีที่มีการรอนสิทธิ ผูซื้อตองฟองรองภายใน ๓ เดือน นับแตคําพิพากษาเดิมถึงที่สุด หรือ
นับตั้งแตวันที่มีขอตกลงยอมความกันหรือวันที่ยอมตามบุคคลภายนอก
คําวา “คดีเดิม” หมายถึง คดีที่เปนความกันระหวางผูซื้อกับบุคคลภายนอก โดยที่ผูซื้อไมไดเรียก
ผูขายเขามาเปนโจทกรวมกับตนในคดีนั้นดวย ดังกลาวมาแลว
ตัวอยาง (ก) ผูซื้อถูกบุคคลภายนอกซึ่งเปนเจาของที่แทจริงฟองเรียกทรัพยสินคืน ผูซื้อไมได
เรียกผูขายเขามาในคดี ศาลพิพากษาใหผูซื้อแพคดี คดีถึงที่สุดเมื่อใดผูซื้อตองฟองผูขายภายใน ๓ เดือน
(ข) ผูซื้อซึ่งถูกเจาของที่แทจริงฟองเรียกทรัพยสินคืน ผูซื้อทําสัญญาประนีประนอม
ยอมความสงทรัพยสินคืน เชนนี้ ผูซื้อตองฟองผูขายภายใน ๓ เดือน นับแตวันประนีประนอมยอมความ
(ค) ผูซื้อถูกเจาของทรัพยสินเรียกรอง โดยอางวามีคนรายลักทรัพยนั้นมาแลวก็โอน
ใหผูซื้อ ผูซื้อ จึงยอมโอนทรัพยสินนั้นให ก็ตองฟองคดีภายใน ๓ เดือน นับแตวันที่ยอมตามขอเรียกรองของ
เจาของที่แทจริง
Page 21
ฉ. ขายฝาก
๑. ความหมาย
สัญญาขายฝากเปนสัญญาซื้อขายซึ่งสิทธิแหงความเปนเจาของในทรัพยสินตกไปยังผูซื้อ โดยผูซื้อ
ตกลงในขณะทําสัญญาวาผูขายมีสิทธิไถทรัพยสินนั้นคืนไดภายในกําหนดเวลาเทาใด แตตองไมเกินเวลาที่
กฎหมายกําหนดไว เชน ขายที่ดินโดยมีขอตกลงวา ถาผูขายตองการซื้อคืน ผูซื้อจะยอมขายคืน เชนนี้ถือวา
เปนขอตกลงใหไถคืนได
ตัวอยาง นายสีนําสวนทุเรียนไปขายกับผูใหญผิน โดยมีขอตกลงในขณะทําสัญญาวา ผูใหญผิน
ยินยอมใหนายสีไถที่สวนทุเรียนนั้นคืนไดภายในกําหนด ๑ ป นับแตวันที่ซื้อขายที่สวนกัน สัญญาชนิดนี้
เรียกวาสัญญาขายฝาก
ขอตกลงที่วา “ผูขายอาจไถทรัพยคืนได” ขอตกลงนี้จะตองมีขึ้นในขณะที่ทําสัญญาซื้อขายกัน
เทานั้น ถาทําขึ้นภายหลังจากที่ไดทําสัญญาซื้อขายกันแลว สัญญาดังกลาวไมใชสัญญาขายฝาก แตเปนเพียง
คํามั่นวาจะขายคืนเทานั้น
๒. ทรัพยสินที่สามารถขายฝากได
ทรัพยสินทุกชนิดไมวาจะเปนประเภทใดก็ตาม เชน ที่ดิน ที่สวน ไรนา บาน รถยนต เรือ เกวียน
โทรทัศน ฯลฯ ยอมสามารถขายฝากไดเสมอ
๓. แบบของสัญญาขายฝาก
(๑) ถาเปนการขายฝากอสังหาริมทรัพย (คือ ทรัพยที่เคลื่อนที่ไมได) เชน ที่ดิน ที่นา บาน
ฯลฯ ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ในกรณีที่เปนที่ดินตองจดทะเบียนตอเจา
พนักงาน ที่ดิน ถาเปนบานก็จดทะเบียนตอที่วาการอําเภอที่บานนั้นตั้งอยู ถาไมทําตามนี้แลวถือวาสัญญาขาย
ฝากนี้เสียเปลาเปนอันใชไมได เทากับวาไมไดทําสัญญากันเลย
ตัวอยาง นายทุเรียนตองการขายฝากที่ดิน ๑ แปลงแกนายสมโอ ก็ตองทําสัญญาขายฝากที่ดินและ
จดทะเบียนการขายฝากที่ดินนี้ตอเจาพนักงานที่ดิน ถาไมทําเชนนี้แลว ถือวาสัญญาขายฝากรายนี้เสียเปลาใช
ไมไดมาแตแรก
(๒) ถาเปนการขายฝากสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ (คือ ทรัพยเคลื่อนที่ได ซึ่งกฎหมายกําหนดไว
เปนพิเศษวาจะตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอเจาหนาที่) เชน แพ เรือยนต สัตวพาหนะ ฯลฯ ตองทํา
เปนหนังสือและจดทะเบียนที่อําเภอ ถาไมทําตามนี้แลวถือวาสัญญาขายฝากจะเสียเปลาใชบังคับไมไดเลย
(๓) ถาเปนการขายฝากสังหาริมทรัพยชนิดธรรมดา (คือ ทรัพยที่เคลื่อนที่ไดแตกฎหมายไดกําหนด
ไววาตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่) ที่มีราคาตั้งแต ๕๐๐ บาทขึ้นไป เชน รถยนต
Page 22
ตูเย็น แหวน สรอย นาฬิกา โทรทัศน ฯลฯ การขายฝากชนิดนี้ตองมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อฝายที่
ตองรับผิดเปนสําคัญหรือตองมีการวางมัดจําหรือจําตองมีการชําระหนี้บางสวน อยางใดอยางหนึ่งก็ได ถาไมทํา
ตามนี้แลว กฎหมายถือวา สัญญาขายฝากรายนี้ตองหามมิใหมีการฟองบังคับคดี
๔. ขอตกลงไมใหผูซื้อฝากจําหนายทรัพยสินที่ขายฝาก
ในการตกลงฝากคูสัญญาจะตกลงกันไมใหผูซื้อฝากจําหนายทรัพยสินที่ขายฝากก็ได แตถา
ผูซื้อฝากฝาฝนขอตกลงที่กําหนดในสัญญา โดยนําทรัพยสินที่ขายฝากไปจําหนายใหผูอื่น ผูซื้อฝากจะตอง
รับผิดชดใชความเสียหายใดๆที่เกิดขึ้นแกผูขายฝาก
ตัวอยาง นางดํา นําแหวนแตงงานของตนซึ่งมีราคา ๗๐,๐๐๐ บาท ไปขายฝากตอเถาแกเฮงใน
ราคา ๕๐,๐๐๐ บาท โดยในสัญญาตกลงวา “หามเถาแกเฮงนําแหวนไปขายใหแกบุคคลอื่น” ตอมาเถาแก
เฮงนําแหวนไปขายใหแกนางจิ๋ว โดยนางจิ๋วไมทราบวาแหวนนี้เปนของผูใด เปนเหตุใหนางดําไมสามารถ
ติดตามเอาแหวนคืนได เชนนี้ เถาแกเฮงตองชดใชคาเสียหายอันเปนราคาแหวน ๒๐,๐๐๐ บาท ใหแก
นางดํา
๕. กําหนดเวลาในการไถทรัพยสินคืน
(๑) ถาเปนการขายฝากอสังหาริมทรัพย ตองกําหนดเวลาในการใชสิทธิไถคืนไมเกิน ๑๐ ป
นับแตวันที่มี การซื้อขายฝากกัน แตถาไมไดกําหนดเวลาในการไถเอาไว หรือกําหนดเวลาไวเกินกวา ๑๐
ป กฎหมายใหลดเวลาลงเหลือแค ๑๐ ปเทานั้น
(๒) ถาเปนสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษและชนิดธรรมดา ตองกําหนดเวลาไถคืนไมเกิน ๓ ป
นับแตวันที่มีการซื้อขายฝากกัน แตถาไมไดกําหนดเวลาในการไถคืนเอาไว หรือกําหนดเวลาไวเกินกวา ๓
ป ใหลดเวลาลงเหลือ ๓ ป เทานั้น
กฎหมายกําหนดไววา “หามมิใหมีการขยายเวลาไถถอนออกไป” (คือ การที่คูกรณีทั้ง ๒ ฝาย
ตกลงกัน เลื่อนกําหนดเวลาในการไถทรัพยสินคืนออกไปจากระยะเวลาเดิม) ถาคูกรณีตกลงใหมีการขยาย
เวลาไถออกไป กฎหมายใหถือวา ขอตกลงนี้มีผลเสียเปลาใชบังคับไมได
ตัวอยาง นายแขก ทําสัญญาขายฝากควาย ชื่อวา เผือก ตอมานายไข กําหนดเวลาในการใชสิทธิ
ไถไว ๖ เดือน เมื่อถึงกําหนดไถ นายแขกยังหาเงินมาไมไดจึงไปตกลงกับนายไขวา “ตนขอเวลาในการใช
สิทธิไถออกไป ๓ เดือน” ขอตกลงนี้แมวานายไขจะตกลงก็ตามแตกฎหมายถือวาขอตกลงนี้เสียเปลาใช
บังคับไมได ดังนั้นเมื่อเลยกําหนดเวลา ๖ เดือนแลวนายแขกยังไมมาไถ ถือวาเลยกําหนดเวลาไถ
ทรัพยสินที่ขายฝากจะตกเปนของนายไขทันที ดังนั้นเมื่อนายแขกนําเงินมาไถในภายหลัง นายไขจึงมีสิทธิ
ไมใหไถควายคืนได
Page 23
ช. เชาทรัพย
๑. ทรัพยที่ใหเชาได
ทรัพยสิ่งของใด เจาของยอมนําออกใหผูอื่นเชาไดเสมอไมวาทรัพยนั้นจะมีขนาดเล็กหรือใหญ
เคลื่อนยายไดหรือไมไดก็ตาม ทรัพยที่เชานี้แบงได ๒ ประเภท
(๑) อสังหาริมทรัพย คือ สิ่งที่ยึดติดอยูกับพื้นดินเคลื่อนยายไมได เชน ที่ดิน สวน บาน
ตึกแถว เปนตน
(๒) สังหาริมทรัพย คือ สิ่งที่สามารถเคลื่อนยายได เชน ชาง มา วัว ควาย รถยนต เรือ
เกวียน เปนตน
๒. หลักฐานการเชา
การเชาอสังหาริมทรัพย ตองมีการทําหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อฝายที่ตองรับผิด (ผูเชาหรือ
ผูใหเชา) ถาไมมีหลักฐานเปนหนังสือ จะฟองรองใหปฏิบัติตามสัญญาเชาไมได
๓. หลักฐานเปนหนังสือ
ไมจําเปนจะตองเปนรูปหนังสือสัญญาเชาอสังหาริมทรัพยทั้งฉบับแตจะเปนหนังสือใดๆ ก็ยอม
ได เชนจดหมายที่ผูใหเชาหรือผูเชาเขียนถึงกันเพื่อตกลงราคาคาเชา หรือใบเสร็จรับเงินคาเชา เปนตน
ดังนั้นหลักฐานเปนหนังสือจะเปนในลักษณะใดก็ได สําคัญอยูที่วา ขอความในหนังสือนั้นแสดงใหเห็นวา
ไดมีสัญญาเชาอสังหาริมทรัพยก็พอจะใชยันผูใหเชาหรือผูเชาแลว หลักฐานเปนหนังสือนี้ ไมจําเปนจะตอง
มีอยูในขณะตกลงทําสัญญาเชาอสังหาริมทรัพยนั้น แมจะมีขึ้นภายหลังจากการตกลงทําสัญญาเชา
อสังหาริมทรัพยแลวก็ใชได
ถามีการเชาอสังหาริมทรัพยเกินกวา ๓ ป (กฎหมายหามเกิน ๓๐ ป) หรือมีกําหนดตลอดอายุ
ของผูเชาหรือผูใหเชาจะตองนําสัญญานั้นไปจดทะเบียนการเชาตอพนักงานเจาหนาที่ ถาเปนการเชาบาน
หรือตึกแถวตองไปจดทะเบียน ณ ที่วาการอําเภอ ที่บาน หรือตึกแถวนั้นตั้งอยู ถาเชาที่ดิน (รวมทั้งบาน
ดวยก็ได) ตองไปจดทะเบียนที่สํานักงานที่ดินประจําจังหวัด
การเชาสังหาริมทรัพย แมวาไมมีหลักฐานเปนหนังสือ เชน ตกลงทําสัญญาเชาดวยวาจาก็ฟองรอง
บังคับกันได
Page 24
๔. การโอนความเปนเจาของ
(๑) ในอสังหาริมทรัพยที่เชา ไมทําใหสัญญาเชาที่ทําไวเดิมสิ้นสุดลง เจาของคนใหมตองยอม
รับรูและผูกพันตามสัญญาเชาที่เจาของเดิมทําไว เจาของคนใหมจึงกลายเปนผูใหเชา
(๒) ในสังหาริมทรัพย ทําใหสัญญาเชาสิ้นสุดลง เจาของคนใหมเรียกเอาทรัพยที่เชาคืนได ถา
ผูเชาเสียหาย เชน ใหคาเชาลวงหนา ๒ เดือนก็ตองไปทวง คือ เอาจากเจาของเดิม
๕. เชาชวง
คือ การที่ผูเชาเอาทรัพยที่ตนเชาใหคนอื่นเชาตอ ไมวาจะทั้งหมดหรือแตบางสวน เชน ก เชาเรือ ข
แลว ก เอาเรือที่ตนเชาไปให ค เชาตอ
การเชาชวงถือเปนการผิดสัญญาเชา ผูใหเชามีสิทธิบอกเลิกสัญญาเรียกเอาทรัพยที่เชาคืนได เวนแต
ผูใหเชาอนุญาต ในกรณีเชนนี้เมื่อมีการเชาชวง ผูเชาชวงตองรับผิดชอบโดยตรงตอผูใหเชา
๖. สัญญาตางตอบแทนชนิดพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาเชาธรรมดา
คือ การที่ผูเชาตกลงทําการอยางหนึ่งอยางใดใหเกิดประโยชนในทรัพยที่เชา เชน ผูเชารับ
ซอมแซมและตอเติมบานเชาปลูกตนไมลงในที่ดินที่เชา หรือออกเงินชวยคากอสรางตึกที่เชา เปนตน
สัญญาชนิดนี้มีผลผูกพันและฟองรองบังคับกันได แมไมมีหลักฐานการเชาหรือแมวาเปนการเชา
อสังหาริมทรัพยเกินกวา ๓ ป ก็ไมตองทําหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ นอกจากนี้ผูเชา
ยังสามารถฟองบังคับผูใหเชาใหจดทะเบียนการเชาไดดวย
เมื่อผูเชาตายสัญญาชนิดนี้ไมระงับ ทายาทของผูเชา (พอ แม ลูก หลานของผูเชา) มีสิทธิเชา
ไดตอไป จนกวาจะครบอายุสัญญา
๗. การสิ้นสุดแหงสัญญาเชา
(๑) ถาเปนสัญญาเชามีกําหนดเวลาการเชาไว เมื่อสิ้นเวลาที่ไดตกลงกันไวแลว สัญญาเชาก็หมด
อายุ
(๒) สัญญาเชายอมระงับลงเมื่อทรัพยสินซึ่งใหเชาสูญหายไปทั้งหมด เชน บานที่เชาถูกไฟไหม
(๓) สัญญาเชาระงับลงเมื่อผูเชาถึงแกความตาย
(๔) วิธีการบอกเลิกสัญญาเชาชนิดที่ไมกําหนดระยะเวลาที่ใหเชานั้น ทั้งฝายผูใหเชาและผูเชาตาง
มีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดโดยการใหคําบอกกลาวเลิกสัญญา ซึ่งตองบอกกลาวลวงหนาในระยะเวลาไมนอย
กวากําหนดชําระคาเชาระยะหนึ่ง เชน กําหนดชําระคาเชาเปนรายเดือน ใหบอกกลาวลวงหนา ๑ เดือน
(๕) ถาผูเชาผิดนัดไมชําระคาเชา ผูใหเชาสามารถบอกเลิกสัญญาเชาไดทันที ถาการเชานั้นมีการ
ตกลงชําระคาเชากันนอยกวารายเดือน เชนชําระเปนรายวัน รายสัปดาห หรือ ๒ สัปดาห เปนตน
แตหากมีการตกลงชําระคาเชากันเปนรายเดือน หรือกวารายเดือน ผูใหเชาตองบอกกลาวแกผูเชาใหชําระ
คาเชาภายในเวลา อยางนอย๑๕วัน หากผูเชาไมชํารําคาเชาในเวลาที่กําหนด ผูใหเชาบอกเลิกสัญญาเชาได
Page 25
ซ. เชาซื้อ
๑. ความหมาย
สัญญาเชาซื้อ คือ สัญญาที่เจาของทรัพยสินเอาทรัพยสินของตนออกใหผูอื่นเชาเพื่อใชสอยหรือ
เพื่อใหไดรับประโยชน และใหคํามั่นวาจะขายทรัพยนั้น หรือจะใหทรัพยสินที่เชาตกเปนสิทธิแกผูเชาซื้อ
เมื่อไดใชเงินจนครบตามที่ตกลงไวโดยการชําระเงินเปนงวดๆจนครบตามขอตกลง
สัญญาเชาซื้อมิใชสัญญาซื้อขายผอนสง แมวาจะมีลักษณะคลายคลึงกันเรื่องชําระราคาเปนงวดๆ
ก็ตาม เพราะการซื้อขายผอนสงนั้นกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินเปนของผูซื้อทันทีขณะทําสัญญา ไมตองรอให
ชําระราคาครบแตประการใด สวนเรื่องสัญญาเชาซื้อ เมื่อผูเชาบอกเลิกสัญญาบรรดาเงินที่ไดชําระแลว ให
ริบเปนของเจาของทรัพยสิน และเจาของทรัพยสินชอบที่จะกลับเขาครอบครองทรัพยสินที่เชาได
๒. แบบของสัญญาเชาซื้อ
สัญญาเชาซื้อจะตองทําเปนหนังสือ จะทําดวยวาจาไมได มิฉะนั้นจะเปนโมฆะเสียเปลา ทําให
ไมมีผลตามกฎหมายที่จะผูกพันผูเชาซื้อกับผูใหเชาซื้อได การทําสัญญาเปนหนังสือนั้น จะทํากันเองก็ได
ไมจําเปนตองทําตอพนักงานเจาหนาที่ ผูเชาซื้อจะเขียนสัญญาเอง หรือจะใชแบบพิมพที่มีไวกรอกขอความ
ลงไปก็ได หรือจะใหใครเขียนหรือพิมพใหทั้งฉบับก็ได แตสัญญานั้นจะตองลงลายมือชื่อของผูเชาซื้อ และ
ผูใหเชาซื้อทั้งสองฝาย หากมีลายมือชื่อของคูสัญญาแตเพียงฝายใดฝายหนึ่ง เอกสารนั้นหาใชสัญญาเชาซื้อ
ไม
๓. สิทธิและหนาที่ของคูสัญญา
ผูเชาซื้อมีสิทธิไดรับมอบทรัพยสินที่เชาซื้อในสภาพที่ปลอดจากความชํารุดบกพรองหรือในสภาพ
อันซอมแซมดีแลว เพราะผูใหเชาซื้อมีหนาที่และความรับผิดชอบในเรื่องทรัพยสินที่ชํารุดบกพรอง แมวาผูให
เชาซื้อจะทราบถึงความชํารุดบกพรองหรือไมก็ตาม
ดังนั้น เวลาทานไปทําสัญญาเชาซื้อทีวีสีเครื่องหนึ่ง เจาของรานมีหนาที่ตองสงมอบทีวีสีใน
สภาพที่สมบูรณ ไมมีสวนที่ผิดปกติแตประการใด ถาทานตรวจพบวาปุมปรับสีหลวมหรือปุมปรับเสียง
หลวมก็ดี ทานตองบอกใหเจาของรานเปลี่ยนทีวีสีเครื่องใหมแกทาน เพราะในเรื่องนี้เปนสิทธิของทานตาม
กฎหมายและเจาของรานไมมีสิทธิที่จะบังคับทานใหรับทีวีสีที่ชํารุดได
ผูเชาซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาในเวลาใดก็ไดดวยการสงมอบทรัพยสินกลับคืนใหแกผูใหเชาซื้อ
โดยตนเอง จะตองเสียคาใชจายในการสงคืน การที่กฎหมายบัญญัติเชนนี้ ก็เพราะเงินที่ผูเชาซื้อไดชําระให
แกผูใหเชาซื้อเปนงวดๆเปรียบเสมือนการชําระคาเชา ดังนั้น ผูเชาซื้อจะบอกเลิกสัญญาก็ได การแสดง
เจตนาบอกเลิกสัญญาจะตองสงมอบทรัพยสินคืนใหแกเจาของ ถามีการแสดงเจตนาวาจะคืนทรัพยสินให
Page 26
ในภายหลัง หาเปนการเลิกสัญญาที่สมบูรณไม การบอกเลิกสัญญาจะตองควบคูไปกับการสงคืนใน
ขณะเดียวกัน
ผูเชาซื้อผิดนัดไมชําระเงินสองคราวติดกันหรือกระทําผิดสัญญาในขอที่เปนสาระสําคัญ เจาของ
ทรัพยสินที่ใหเชาซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาเมื่อใดก็ได สวนเงินที่ชําระราคามาแลวแตกอน ใหตกเปนสิทธิของ
เจาของทรัพยสินโดยถือเสมือนวาเปนคาเชา ผูเชาซื้อไมมีสิทธิเรียกคืนจากเจาของได และเจาของทรัพยสินก็
ไมมีสิทธิเรียกเงินที่คางชําระได การผิดนัดไมชําระจะตองเปนการไมชําระสองงวดติดตอกัน หากผิดนัดไม
ใชเงินเพียงครั้งเดียว หรือหลายครั้งแตไมติดๆกัน เชน ผิดนัดไมใชเงินเดือนกุมภาพันธ, เมษายน,
มิถุนายน, สิงหาคม ฯลฯ แตชําระคาเชาซื้อสําหรับเดือนมกราคม, มีนาคม, พฤษภาคม, กรกฎาคม
ฯลฯ สลับกันไปเชนนี้ แมจะผิดนัดกี่ครั้งกี่หน ก็ตาม ผูใหเชาซื้อหาอาจใชสิทธิบอกเลิกสัญญาไดไม
ในการผิดสัญญาในสวนที่เปนสาระสําคัญ หมายความวาสัญญาเชาซื้อนั้นมีวัตถุประสงคใหผูเชา
ซื้อมีสิทธิใชสอยทรัพยสินาและเคารพในกรรมสิทธิ์ของผูใหเชาซื้อจนกวาจะชําระราคาครบตามขอตกลง
ถาผูเชาซื้อนําทรัพยสินไปจํานําและไมชําระเงิน ถือวาผิดสัญญาเชาซื้อ เจาของมีสิทธิบอกเลิกสัญญาและผู
เชาซื้อมีความผิดอาญาฐานยักยอกทรัพยไดอีก เนื่องจากกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินยังเปนของผูใหเชาซื้ออยู
อนึ่ง ในกรณีผูเชาซื้อกระทําผิดสัญญา เพราะผิดนัดไมใชเงินซึ่งเปนงวดสุดทายนั้น เจาของ
ทรัพยสิน มีสิทธิจะริบบรรดาเงินที่ชําระมาแลวแตกอน และยึดทรัพยกลับคืนไปไดตอเมื่อรอใหผูเชาซื้อมา
ชําระราคาเมื่อถึงกําหนดชําระราคาในงวดถัดไป ถาไมมาผูใหเชาซื้อริบเงินได

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น