สาเหตุหลักจริงๆคือ นโยบายที่พรรคการเมืองหรือนักกา รเมืองใช้ในการบริหารประเทศ เรามาดูกันว่านโยบายแบบไหนที่ทำ ให้ประเทศอยู่รอดปลอดภัยหรือทำใ ห้ประเทศล่มละลาย
1.สหรัฐอเมริกา นโยบาย ทุนนิยมสุดขั้ว ผลที่เกิดขึ้น เกิดภาวะหนี้ท่วมประเทศเนื่องจา กประชาชนมุ่งแต่บริโภคแต่ไม่ผลิ ต ทรัพย์สินที่สหรัฐอเมริกาหาได้ม ากจากการบุกเข้าปล้นแย่งชิงทรัพ ยากรจากประเทศอื่นๆ ค่าใช้จ่ายในการปล้นทรัพยากรมากกว่าทรัพยากรที่ได้ หนี้สินสะสมเป็นดินพอกหางหมู กำลังเดินหน้าไปสู่การล่มละลาย
2.บราซิล เดิมใช้นโยบายเสรีทุนนิยมจึงทำใ ห้บราซิลล่มละลาย แต่เมื่อเปลี่ยนมาใช้นโยบายสังค มนิยม บราซิลดีขึ้น เศรษฐกิจดีขึ้นเข้มแข็งขึ้น ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนชาว บราซิลดีขึ้นอย่างมาก
3.เวเนซูเอลลา เดิมใช้นโยบายเสรีทุนนิยมจึงทำใ ห้คนเวเนซูเอลลายากจน ทรัพยากรถูกผูกขาดโดยคนกลุ่มเดี ยวและเป็นชาวต่างชาติเรียกว่า"ร วยกระจุกจนกระจาย"แต่เมื่อเปลี่ ยนมาใช้นโยบายสังคมนิยมบวกชาติน ิยม เวเนซูเอลลากับเข้มแข็งขึ้น ทรัพยากรกลับมาเป็นของชาวเวเนซู เอลลา คนจนมีรายได้เพิ่มขึ้น มีสวัสดิการ เศรษฐกิจดีติดอันดับต้นๆของอเมร ิการใต้
4.โบลิเวีย เดิมใช้นโยบายเสรีทุนนิยม โบลิเวียเต็มไปด้วยความยากจนเป็ นประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก ทรัพยากรเป็นของชาวต่างชาติ แต่เมื่อเปลี่ยนมาใช้นโยบายสังค มนิยมบวกชาตินิยม ชีวิตของชาวโบลิเวียดีขึ้น มีสวัสดิการให้กับประชาชน รายได้จากทรัพยากรจำนวนมากตกเป็ นของชาวโบลิเวีย เศรษฐกิจเข้มแข็งขึ้น ยืนอยู่บนขาของตัวเองได้
5.อาเจนติน่า เดิมใช้นโยบายประชานิยม ผลที่เกิดขึ้นอาเจนติน่าล้มละลา ยแล้วล่มละลายอีก ต้องขายทรัพย์สินของอาเจนติน่าใ ห้กับต่างชาติ ชีวิตประชาชนอยู่อย่างไร้ศักดิ์ ศรี เต็มไปด้วยคนจน คนไม่ทำงานแต่จะคอยแบมือขอความช ่วยเหลือจากรัฐบาล แต่เมื่อเปลี่ยนมาใช้นโยบายชาติ นิยมบวกสังคมนิยม เศรษฐกิจของอาเจนติน่าเริ่มฟื้น ตัว ประชาชนเริ่มกลับมาทำงานไม่คอยแ บมือขอจากรัฐบาลเพียงอย่างเดียว คาดว่าอาเจนติน่าจะยืนอยู่บนขาข องตัวเองได้อีกไม่นาน
และประเทศอื่นๆในทวีปอเมริกาใต้ กำลังเปลี่ยนนโยบายแบบเสรีทุนนิ ยมมาใช้นโยบายชาตินิยมบวกกับสัง คมนิยมเพื่อป้องกันไม่ให้ประเทศ ของตนล่มละลาย
ยุโรป
1.นอรเวย์,สวีเดน,ฟินแลนด์,เดนม าร์ก ใช้นโยบายแบบรัฐสวัสดิการ ทำให้ประเทศมั่นคง เศรษฐกิจเข้มแข็ง ไม่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐก ิจ
2.อังกฤษ,เนเธอร์แลนด์ ใช้นโยบายแบบเสรีนิยมบวกรัฐสวัส ดิการ ทำให้เศรษฐกิจของทั้งสองประเทศไ ม่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิ จ เพราะนโยบายรัฐสวัสดิการจะทำให้ ชีวิตของประชาชนเกิดความมั่นคง
3.เยอรมัน ใช้นโยบายแบบเสรีนิยมผสมกับสังค มนิยมและรัฐสวัสดิการ ทำให้เยอรมันเป็นประเทศที่ร่ำรว ยที่สุดในยุโรป และมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็งที่สุด ในยุโรป โดยสาเหตุสำคัญคือ คนเยอรมันเป็นคนมีวินัย ขยัน และประหยัด เยอรมันจึงเป็นประเทศที่ต้องอุ้ มเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป
4.เบลเยี่ยม ใช้นโยบายแบบรัฐสวัสดิการบวกสัง คมนิยม เศรษฐกิจของเบลเยี่ยมจึงเข้มแข็ งและไม่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศ รษฐกิจ
5.ฝรั่งเศส เดิมใช้นโยบายเสรีนิยมบวกประชาน ิยม ทำให้ฝรั่งเศสกำลังจะล่มละลาย ประชาชนฝรั่งเศสจึงจะเปลี่ยนนโย บายใหม่โดยการเลือกตั้งประธานาธ ิบดีคนใหม่ที่ใช้นโยบายแบบสังคม นิยมแทนคนเก่าที่บริหารผิดพลาดจ ากนโยบายประชานิยม
6.อิตาลี,สเปน,โปตุเกส อยู่ในสภาวะกำลังจะล่มละลายแบบ" ตายแหล่ไม่ตายแหล่"เพราะนักการเ มืองใช้นโยบายบริหารประเทศแบบปร ะชานิยม เพื่อหวังผลให้ตัวเองชนะเลือกตั ้งเท่านั้น
7.กรีซ ล่มละลายไปแล้ว สาเหตุหลักคือ นักการเมืองใช้นโยบายประชานิยมบ ริหารประเทศแบบ"ลดแลกแจกแถม"หวั งเพียงให้ชนะเลือกตั้งเท่านั้น ประชานิยมทำให้มีหนี้สินล้นพ้นต ัวเพราะคนไม่ทำงาน หนี้ท่วมประเทศกรีซ ไม่มีทางใช้หนี้ได้
ประเทศไทยกำลังใช้นโยบายประชานิ ยมแบบ"ลดแลกแจกแถม"ในการบริหารป ระเทศ จนเกิดสภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง สินค้าทุกอย่างแพงขึ้น ผู้คนกำลังทยอยตกงาน "สินค้าราคาแพงแต่คนไม่มีเงินซื ้อ" รัฐบาลปัจจุบันยังไม่มีแนวทางแก ้ไข ปลายทางของประเทศไทยก็คงหนีไม่พ ้น"ล่มละลาย"แน่นอน
1.สหรัฐอเมริกา นโยบาย ทุนนิยมสุดขั้ว ผลที่เกิดขึ้น เกิดภาวะหนี้ท่วมประเทศเนื่องจา
2.บราซิล เดิมใช้นโยบายเสรีทุนนิยมจึงทำใ
3.เวเนซูเอลลา เดิมใช้นโยบายเสรีทุนนิยมจึงทำใ
4.โบลิเวีย เดิมใช้นโยบายเสรีทุนนิยม โบลิเวียเต็มไปด้วยความยากจนเป็
5.อาเจนติน่า เดิมใช้นโยบายประชานิยม ผลที่เกิดขึ้นอาเจนติน่าล้มละลา
และประเทศอื่นๆในทวีปอเมริกาใต้
ยุโรป
1.นอรเวย์,สวีเดน,ฟินแลนด์,เดนม
2.อังกฤษ,เนเธอร์แลนด์ ใช้นโยบายแบบเสรีนิยมบวกรัฐสวัส
3.เยอรมัน ใช้นโยบายแบบเสรีนิยมผสมกับสังค
4.เบลเยี่ยม ใช้นโยบายแบบรัฐสวัสดิการบวกสัง
5.ฝรั่งเศส เดิมใช้นโยบายเสรีนิยมบวกประชาน
6.อิตาลี,สเปน,โปตุเกส อยู่ในสภาวะกำลังจะล่มละลายแบบ"
7.กรีซ ล่มละลายไปแล้ว สาเหตุหลักคือ นักการเมืองใช้นโยบายประชานิยมบ
ประเทศไทยกำลังใช้นโยบายประชานิ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น