++

...+

Theขี้ฝุ่นริมทาง

วันศุกร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2553

การขอโทษและการใหอภัย

การรูจักขอโทษนั้นเปนมารยาทอันดีงามสําหรับตัวผูทําเอง และเปนการชวย
ระงับหรือชวยแกโทสะของผูถูกกระทบกระทั่งใหเรียบรอยดวยดีในทางหนึ่ง หรือ
จะกลาววาการขอโทษคือการพยายามปองกันมิใหมีการผูกเวรกันก็ไมผิด
เพราะเมื่อผูหนึ่งทําผิด อีกผูหนึ่งเกิดโทสะเพราะถือความผิดนั้นเปนความ
ลวงเกินกระทบกระทั่งถึงตน แมไมอาจแกโทสะนั้นได ความผูกโกรธหรือความผูก
เวรก็ยอมมีขึ้น ถาแกโทสะนั้นไดก็เทากับแกความผูกโกรธหรือผูกเวรได เปนการ
สรางอภัยทานขึ้นแทน อภัยทานก็คือการยกโทษให คือการไมถือความผิดหรือการ
ลวงเกินกระทบกระทั่งวาเปนโทษ
Page 2
อันอภัยทานนี้เปนคุณแกผูให ยิ่งกวาแกผูรับ
เชนเดียวกับทานทั้งหลายเหมือนกัน
คืออภัยทานหรือการใหอภัยนี้ เมื่อเกิดขึ้นในใจผูใด
จะยังจิตใจของผูนั้นใหผองใสพนจากการกลุมรุมบดบังของโทสะ
โกรธแลวหายโกรธเอง กับโกรธแลวหายโกรธเพราะใหอภัย ไมเหมือนกัน โกรธ
แลวหายโกรธเองเปนเรื่องธรรมดา ทุกสิ่งเมื่อเกิดแลวตองดับ ไมเปนการบริหาร
จิตแตอยางใด แตโกรธแลวหายโกรธเพราะคิดใหอภัย เปนการบริหารจิตโดยตรง
จะเปนการยกระดับของจิตใหสูงขึ้น ดีขึ้น มีคาขึ้น
ผูดูแลเห็นความสําคัญของจิต จึงควรมีสติทําความเพียรอบรมจิตใหคุนเคยตอ
การใหอภัยไวเสมอ เมื่อเกิดโทสะขึ้นในผูใดเพราะการปฏิบัติลวงล้ําก้ําเกินเพียงใด
ก็ตาม พยายามมีสติพิจารณาหาทางใหอภัยทานเกิดขึ้นในใจใหได กอนที่ความ
โกรธจะดับไปเสียเองกอน
ทําไดเชนนี้จะเปนคุณแกตนเองมากมายนัก ไมเพียงแตจะทําใหมีโทสะลดนอยลง
เทานั้น และเมื่อปลอยใหความโกรธดับไปเอง ก็มักหาดับไปหมดสิ้นไม เถาถานคือ
ความผูกโกรธมักจะยังเหลืออยู และอาจกระพือความโกรธขึ้นอีกในจิตใจไดใน
โอกาสตอไป
ผูอบรมจิตใหคุนเคยอยูเสมอกับการใหอภัย
แมจะไมไดรับการขอขมา ก็ยอมอภัยใหได
ในทางตรงกันขาม ผูไมเคยอบรมจิตใจใหคุนเคยกับการใหอภัยเลย โกรธแลวก็ให
หายเอง แมไดรับการขอขมาโทษ ก็อาจจะไมอภัยใหได เปนเรื่องของการไมฝกใจ
ใหเคยชิน
อันใจนั้นฝกได ไมใชฝกไมได ฝกอยางไดก็จะเปนอยางนั้น
ฝกใหดีก็จะดี ฝกให
รายก็จะราย...
Page 3
พระนิพนธ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช วัดบวรนิเวศวิหาร..

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น