...+

วันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2552

Mblog Hot article 19 Jan 2552


by progressive
        อยากจะกล่าถึงเรื่องราวอะไรดีสักอย่างที่ คนมักจะใช้คำนี้ในการเข้าสังคมว่า "มนุษย์เป็นสัตว์สังคม"(social animal) คำพูดคำนี้เป็นของนักปรัชญาอริสโตเติล
by bonkalasin
         การติดตามดู ASTV ทำให้สารวัตรจ๊าบรับรู้ข้อมูลความจริงอีกด้านหนึ่ง เมื่อรู้ข้อมูลทุจริตรัฐบาลทักษิณมาอย่างต่อเนื่อง จึงขับรถพาครอบครัวไปร่วมชุมนุมที่สนามหลวง ลานพระรูป จนถึงสวนลุมพีนี
by arnubis
คนส่วนใหญ่มักจะมองว่าการหัวเราะและหน้าตาที่ยิ้มแย้ม เป็นสัญลักษณ์ของความสุข แต่ท่านเคยลองพิจารณาดูบ้างรึเปล่าครับว่าทำไมเราถึงหัวเราะหรือตลกขึ้นมาได ้  ในมุมหนึ่งเวลาเราเห็นเด็กทำอะไรเพี้ยนๆ หรือ ดูตลกรูปร่างหน้าตาแปลกๆ แล้วก็รู้สึกตลก แต่ในอีกมุมหนึ่ง เวลาที่เราเจอตลกปัญญาชน ที่ต้องใช้เวลานึกสักพักแล้วถึงจะร้องอ๋อ แล้วก็หัวเราะ สองแบบนี้ต่างกันตรงไหน เรามาเริ่มเรื่องตลกของเราจากตรงนี้กันดูดีกว่าครับ    
by someone2008
รักเด็ก ชอบปลูกต้นไม้
by chaiyan00
การเป็นผู้นำในระบอบประชาธิปไตยในโลกปัจจุบันนี้ดูเหมือนว่าจะไม่ค่อยจะมีคว ามสุขเท่าที่ควร ไม่ว่าจะเป็นประเทศใหญ่หรือประเทศเล็ก..กระแสความต้องการของประชาชนที่ได้เล ือกตัวผู้นำเข้ามาบริหารบ้านเมืองได้พุ่งสูงขึ้นมากเป็นเงาตามตัว..สิ่งที่พ วกผู้นำสามารถทำได้และทำไม่ได้ในความต้องการของผู้เลือกเข้ามา เป็นดาบสองคมที่ฟาดฟันนักการเมืองในระบบ..วันๆเราจะได้พบได้เห็นการออกมาแสด งความไม่พอใจตามท้องถนนหรือแม้กระทั้งปิดกั้นสถานที่ทางราชการหรื่อคมนาคม เมื่อสัปดาห์ก่อนสถานีรถไฟในฝรั่งเศสได้ถูกปิดตัวลงด้วยการประท้วงของคนงานร ถไฟจนทำให้ได้รับความเดือนเนื้อร้อนใจกันไปทั่วประเทศ...ผู้นำที่ถูกเกลียดถ ูกชังมากที่สุดคงเห็นจะไม่พ้นประธานาธิปดี บุช เพราะตั้งแต่เขาได้เข้ามารับตำแหน่งในการบริหารประเทศจนถึงวันสุดท้าย มีแต่เรื่องยุ่งยากให้แก้ให้ไขอยู่ตลอดเวลาการบริหารประเทศในระบอบ บางครั้งผู้นำไม่อาจที่จะตามใจทุกคนในประเทศได้ บางเรื่องเป็นความมั่นคง บางเรื่องเป็นเรื่องเศรษฐกิจ บางเรื่องเป็นเรื่องการเมืองระหว่างประเทศ..ความรับผิดชอบเหล่านี้กับโลกที่ เร้าร้อนในทุกสถานที่ทำให้ความเป็นผู้นำในระบบต้องกระอักกระอ่วนกับการบริหา รประเทศในยุคในสมัย.....
by someone2008
เพลงนี้เขาก้อชอบเหมื๊ยนกัน
by hanzen
วันนี้ได้มีโอกาสหยุดอยู่บ้านดูรายการจอเหลืองเต็มๆ ชัดๆซะที คราวก่อนดูจากคลิปที่พี่น้องเราเอามาปล่อยให้ดูไม่ค่อยหนำใจเท่าไหร่  แต่ก็ต้องขอขอบคุณคุณ   PAD Saraburi    ด้วยนะครับที่นำมาให้ชม   พอดีมีอะไรนิดหน่อยอยากจะเขียนถึง (ก็ตรงชื่อเรื่องนั่นแหละ) แต่ขอเลี้ยว(เลื้อย)ไปเรื่องอื่นๆก่อนนะครับ
by someone2008
นึกถึงอดีต เกิด แก่ เจ็บ ตาย อนิจจัง ทุกสิ่งไม่เที่ยงแท้แน่นอน สาธุ! """""""""""""" """" "  
by natayaa
  ตอนนี้ ใครๆ ก็บอกว่าบ้านเมืองเราไม่ค่อย จะมีฝรั่งเข้ามาเที่ยว แต่อีเดี๊ยนเหี่ยวๆ คนนี้ กลับวุ่นวาย เพราะเพื่อนฝรั่งแสนดีทั้งหลาย ได้มาเยือนบันไดเมืองไทย ชนิดที่ว่า ถูกัน ไทันแห้งเลยทีเดียว เดี๊ยนเลยต้องพลีชีพ เพื่อชาติ ด้วยการรับเป็นไกด์ไร้ค่าแรง เหนื่อยกายเหนื่อยใจไม่ใช่น้อย
by greenmblog
 เป็นธรรมดาที่เวลาเราขับรถเราจะเห็นแสงสะท้อนมาจากพื้นถนน หรือที่เรียกกันว่า ตาแมว .....     
by singingintherain
    หลายคนยังคงจดจำกันได้ดี กับนักร้องหนุ่ม ผมยาว น้ำเสียงชัดเจน แจ่มใส ที่ชือ โจ้ อัมรินทร์ เหลืองบริบูรณ์ หรือโจ้ วงพอส กับบทเพลงไพเราะ"ที่ว่าง" ที่ยังคงฟังกันไม่เบื่อ....
by danudanu
การตกแต่งคอนโด    ห้องชุดในคอนโดฯ มักมีข้อจำกัดเกี่ยวกับการตกแต่งพอสมควร โดยเฉพาะห้องชุดที่มีขนาดเล็ก ไม่ใช่นึกจะซื้อเฟอร์นิเจอร์อะไรมาใส่ก็ได้ หรือนึกจะแต่งตามใจฉันยังไงก็ได้ เพราะหาทำอย่างนั้น ห้องสวยๆ อาจจะรกขึ้นมาทันที       สำหรับห้องชุดที่มีขนาดพื้นที่ไม่ใหญ่มากแค่อาศัยใช้เทคนิคเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็สามารถบันดาลให้ห้องเล็ก ๆ ดูกว้างขึ้นมาได้...
by mblogtips
  ตามที่ได้มีการแจ้งเปิดโครงการ"MBlog บนสื่อในเครือผู้จัดการ"   วันจันทร์ที่ 19 ม.ค. 52 MBlog ได้นำบทความของสมาชิกลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน ส่วนปริทรรศน์(หน้า 34) 2  เรื่องดังนี้
by greenmblog
  fish spa สปาที่ในตอนนี้มีผู้ให้ความสนใจเป็นอย่างมากในสหรัฐอเมริกา ในแถบวอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่ง  fish spa เป็นการนำเจ้าปลาตัวน้อยหรือที่เรียกว่า Doctor fish
by sazzie
    ฉันกำลังรื้อหาสมุดบันทึกเล่มเล็กที่ฉันเคยจดรวบรวมคำศัพท์ภาษาดัตช์เอาไว้เมื่อนานมาแล้ว ก็บังเอิญพบสมุดจดบัญชีเล่มใหญ่ ที่ปกทั้งหน้าและหลังหลุดหายไปตามความเก่าและการหยิบใช้ มันเป็นสมุดบัญชีเล่มใหญ่ ที่ฉันเคยใช้เขียนกลอนเปล่า .. เมื่อสมัยหัวใจยังเปราะบาง  
by prypilas
  ก็แค่หนทางทำมาหากินบนกองทรัพย์สินของคนโกง .. เท่านั้น    
by henggy
"ชื่นใจ..พันธมิตรภาคตะวันออกค่ะ"  เก็บตกภาพคอนเสิรต์การเมืองครั้งที่ี ๑ ชลบุรี ในวันเสาร์ที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๒  ณ สนามฟุตบอลเทศบาลเมืองชลบุรี
by phakri
      บรรยากาศแห่งการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านงบประมาณกลางปี 2552 ของรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้รับการขานรับอย่างคึกคักยิ่ง คึกคักด้วยกระบวนการไล่แจกเงิน 2,000 บาทให้กับผู้ประกันตน คึกคักด้วยกระบวนการลด แลก แจก แถม ตั้งแต่เรื่องของการศึกษาฟรี การรักษาพยาบาลฟรี การเพิ่มเงินเข้าไปในกองทุนอย่างชนิดที่เรียกได้ว่าเป็นทวีคูณ รัฐบาลพรรคไทยรักไทยให้ 10 รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ให้ 20 เมื่อประสานเข้ากับการลดดอกเบี้ย 0.75% ของคณะกรรมการนโยบายของการเงิน (กนง.) เพื่อสร้างเงื่อนไขให้กับนักลงทุน การดำเนินนโยบายการเงินเพื่อเสริมกับนโยบายการคลังจึงปรากฏขึ้นอย่างเป็นรูป ธรรม
by lady007
    นามบัตร บ่งบอกอะไรหลายอย่าง เพราะเป็นหน้าตาของบริษัท หรือเจ้าของนามบัตรนั้นเอง นามบัตรนี้ไม่ธรรมดาเลย    
by leelawadee2u
  อ้วน ๆ ๆ ๆ กลิ้งมาหาแม่ซิ !!!   ฉัน และพ่อของหล่อนชอบที่จะเรียกเจ้าหล่อนว่า "นังอ้วน" เวลาที่พวกเราหมั่นไส้หล่อน "มวยปล้ำ" เป็นฉายานามที่ป้าโม และคุณลุงข้างบ้านตั้งให้ เพราะหล่อนแข็งแรงมากกกก "ลัคกี้" เป็นชื่อที่ฉันมอบให้ ซึ่งใคร ๆ ก็รู้จัก ลัคกี้เปนชื่อ แทนชื่อเดิมของเจ้าหล่อน ที่เจ้าหล่อนไม่ชอบให้ใครเรียกก็คือ "ขยะ"    
by initmate
:: เธอไม่เคยรู้ - Sirasak ::


by phakri
     เกณฑ์การพิจารณาจ่ายเงินชดเชยผู้บาดเจ็บ และผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย 193 วัน        ระหว่างวันที่ 25 พฤษภาคม - 3 ธันวาคม 2551        จากกองทุนช่วยเหลือเพื่อผู้บาดเจ็บและเพื่อผู้เสียชีวิต        โดย ศูนย์เยียวยาผู้บาดเจ็บ ผู้พิการ และผู้เสียชีวิตโทรศัพท์ 0-2814-3021 โทรสาร 0-2814-0369        มูลนิธิยามเฝ้าแผ่นดิน
by chaiyan00
นโปเลียนเคยกล่าวไว้ว่า ทหารเดินได้ด้วยท้อง....คำๆนี้ทำให้อาหารฝรั่งเศสได้พ้ตนาออกมาอย่างรวดเร็ว ทั้งคุณภาพและประสิทธิ์ภาพ..น้อยครั้งที่เห็นคนฝรั่งเศสทานอาหารที่ไม่มีไวน ์เป็นเครื่องดื่มประจำโต้ะ..มันแทบจะเป็นขนบธรรทเนียมวัฒธรรมประจำชาติของเข าเลยก็ว่าได้...เราคนไทยไม่ค่อยจะคุ้นเคยกับเครื่องดื่มเหล่านนี้ แค่ยี้สิบแปดดีกระหรือแม่โขง สักกักหนึ่งก็ทำให้อาหารบนโต้ะเปลี่ยนรส.......เปลี่ยนชาดไปได้มาก..ไวน์ ที่เราชอบดื่มมากส่วนใหญ่จะเป็นไวน์แดงแถวๆเขต บอร์โด..เช่น เปิมฮอล เมดอค เซนต์เอมิลิยองค์ ที่มีรสชาติเข็มข้นและหอมหวนชวนดื่ม..ผู้รู้เขาบอกว่าดื่มไวน์แดงวันละแก้วจ ะทำให้หัวใจทำงานได้ดีกว่าที่ที่ไม่ดื่มเลย..แต่น้อยครั้งที่เวลาได้รับเชิญ ไปทานอาหารตามบ้านเพื่อนๆ แก้วเดียวดูเหมือนว่าไม่ค่อยจะได้ดื่ม..... 
by chaleeja
  กวีบทเดียว โดย : ชาลี            ฉันเป็นเพียง-ใบไม้แห้ง          ดูร้างแล้ง-ไร้ความหมาย          หากเศษซาก-ของใบไม้          ยังได้ใช้-ประโยชน์กัน
by dezignpu
ไม่มีความเดิมจากตอนที่แล้ว
by nunohatyai
ทำไมน้ำประปาหาดใหญ่ต้องให้เอกชนผลิต?
by Littletiger
       ตา...ของฉัน "ตา " ใครคิดว่าไม่สำคัญ เธอมองตาของฉันเท่านั้น..ก็ทำให้ใจไหวหวั่น    
by aprilmyhomes
  เช้าวันนี้ฉันตื่นเช้ากว่าปกติ  เพราะมีนัด  
by whoaddme
การ หาเพื่อน แท้นั้นหาได้ง่าย? หรือ หาเพื่อน แท้นั้น คือ การที่เราแกล้งหาเพื่อนเราแล้วมันไม่โกรธหรือโมโหเราเลยแต่กลับยิ้มและหัวเร าะให้เรา                        และอีกอย่างนึ่งคือเพื่อนแท้นั้นสามารถให้อะไรเราได้หลายอย่างไม่ว่าจะเป ง เงิน ของใช้                        และสุดท้ายคือสิ่งที่หาเพื่อนเราคิดว่าเปงสิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับหาเพื ่อนเราแต่กลับมาให้เรายืมใช้โดยไม่คิดอะไรเลยไม่หวงด้วย และถ้าไปทามให้ของสำคัญหายหรือพังหรือเกิดอุบัติเหตุ เช่น โทรศัพท์ มอไซค์ เป็นต้น แต่เพื่อนเราพอมาถึงที่เกิดเหตุกลับกลายเปงถามเราว่า 'เปงอะไรไหมเจ็บตรงไหนหรือเปล่าเพื่อน'คำนั้นมันอาจจะทามให้ตัวเราเองคิดว่า นี่คือหาเพื่อนแท้สำหรับโดยการที่เราทำของสำคัญของมันเสียหายแต่กลับมาถามเร าว่า 'เปงอะไรไหม' คือ ยอมเสียของสำคัญไปแต่ขอให้เรานั้นไม่เปงไรก้พอแลล้ว นี่คือเพื่อนแท้สำหรับเรา เพื่อนๆทุกคนหาเพื่อนแท้ได้ยังอ่ะคะ ถ้ายังหาไม่ได้ก้ลองไปพิสูจน์ดูและกันนะ เช่น แกล้งมันแบบแรงๆเอาพอแรงพอนะ ดูซิว่าจะโกรธไหม อีกอย่างนึ่งคือ ต้องดูที่'ใจ'ด้วยว่ามันจริงใจกับเราไหม                                                                                                     แต่สำหรับตัวเราเองนั้นไม่รู้ว่าจะเป็นหาเพื่อนแท้                                   สำหรับคนที่คิดว่าเปนหาเพื่อนของเรา หรือไม่ แต่เราก้ทามดีที่สุดแล้ว ขอให้หาเพื่อนมีความสุขก้พอ                                    แค่ตอนนี้ผมก้ไม่รู้ว่าเปงเพื่อนแท้หรือยัง แต่เรามีหาเพื่อนแท้อยู่แล้วก้คือทุกๆคนที่มีความจิงใจ                                   ในกลุ่มของเราเองแต่ไม่รู้ว่าพวกเขาจะคิดว่าเราเปงเพื่อนหรือ                                   ป่าวอยากรู้แค่นี้แหละ
by pookun
  วันปีใหม่เด็กหญิงพูกันไปบ้านยาย เขียนบันทึกพร้อมภาพประกอบแสดงความในใจไว้ แล้วสั่งให้อัพบล็อกให้หนูหน่อยค่ะ... เรื่องไปบ้านยาย
by peacock
    อาชญากรหัวใจ  ที่ปากแข็งดื้อรั้น  และไร้สุข  ผู้ไม่เคยเปิดใจกับใคร  แม้แต่ตนเอง...    
by padpl007
ทดสอบ
by 51116930251
    ในหลวงกับคอมพิวเตอร์     ......พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ที่สนพระทัยใฝ่รู้และทรงศึกษาอย่างจริงจัง ลึกซึ้งในการค้นคว้าวิจัยเพื่อการพัฒนาในทางวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การเกษตร การชลประทาน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีต่างๆ โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศนั้น ทรงเห็นความสำคัญและประโยชน์อย่างยิ่ง ทรงสนับสนุนการค้นคว้าในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในด้านส่วนพระองค์นั้น ทรงศึกษาคิดค้นสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลข้อมูลต่างๆ ด้วยพระองค์เอง ทรงประดิษฐ์รูปแบบตัวอักษรไทยที่มีลักษณะงดงาม เพื่อแสดงผลบนจอภาพคอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ ทรงใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อบันทึกพระราชกรณียกิจต่างๆ และทรงติดตั้งเครือข่ายสื่อสารคอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนพระราชภารกิจต่างๆ ทั้งยังทรงเคยประดิษฐ์ ส.ค.ส. ด้วยคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ผ่านสื่อมวลชนเพื่อทรงอวยพรปวงชนชาวไทย       ......ความเป็นมาที่พระองค์ท่านทรงเริ่มใช้คอมพิวเตอร์นั้น ม.ล.อัศนี ปราโมช ได้ตกลงใจซื้อคอมพิวเตอร์แมคอินทอชพลัส อันเป็นเครื่องที่ทันสมัยที่สุดในยุคนั้นขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย คุณสมบัติอย่างหนึ่งที่ ม.ล.อัศนี เลือกเครื่องนี้ เพราะสามารถเก็บและพิมพ์โน้ตเพลงได้ การเรียนรู้และใช้งานไม่ยาก ทั้งยังอาจเชื่อมต่ออุปกรณ์พิเศษสำหรับเล่นดนตรีตามโน้ตเพลงที่เก็บไว้ได้ด้ วย ตั้งแต่นั้น พระองค์ทรงใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในงานส่วนพระองค์ทางด้านดนตรี โดยทรงใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการป้อนโน้ตเพลงและเนื้อร้อง พระองค์ท่านทรงศึกษาวิธีการใช้เครื่องและโปรแกรมที่เกี่ยวข้องด้วยพระองค์เอ ง     .....สำหรับเรื่องอักขระคอมพิวเตอร์หรือฟอนต์ (Font) นั้นเป็นที่สนพระราชหฤทัย ก็เพราะหลังจากที่พระองค์ท่านได้ทรงศึกษา และใช้คอมพิวเตอร์ทำโน้ต คือเมื่อประมาณเดือนธันวาคม พ.ศ. 2529 และทรงทดลองใช้โปรแกรม "Fontastic" เมื่อประมาณเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2530 สิ่งที่ทรงสนพระทัยเป็นพิเศษคือการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย ได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยหลายแบบ เช่น แบบจิตรลดา แบบภูพิงค์ ฯลฯ ทรงสนพระทัยประดิษฐ์อักษรขนาดใหญ่ที่สุดจนถึงขนาดเล็กที่สุด นอกจากนี้ยังตั้งพระทัยในการประดิษฐ์อักษรภาษาอื่นๆ เพิ่มขึ้น คือภาษาสันสกฤต และทรงดำริจะประดิษฐ์อักษรภาษาญี่ปุ่น แต่ขณะนี้ยังไม่ได้เริ่มประดิษฐ์ รับสั่งว่าต้องใช้เวลามาก ต่อมาก็ได้ทรงหันมาศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์แสดงตัวเทวนาครีบนจอภาพ หรือที่พระองค์ท่าน ทรงเรียกว่า "ภาษาแขก" ซึ่งจัดทำได้ยากกว่าตัวอักษรภาษาไทย เพราะตัวอักษรเทวนาครีนั้นรูปแบบไม่คงที่ กล่าวคือ ถ้านำส่วนหนึ่งของอักษรนำมาต่อรวมกับอีกส่วนหนึ่งของอักษร จะเกิดอักษรใหม่ขึ้น และโปรแกรมที่พระองค์ทรงสร้างขึ้นนั้นมีตัว phonetic symbols การสร้างตัวอักษรเทวนาครีนั้น ทรงเริ่มเมื่อประมาณเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2530 ทรงศึกษาตัวอักษรเทวนาครีด้วยพระองค์เอง จากพจนานุกรมและตำราภาษาสันสกฤต และทรงสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีสันสกฤต เช่น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และท่านองคมนตรี ม.ล. จิรายุ นพวงศ์ ซึ่งจะต้องตรวจสอบตัวอักษรที่ทรงสร้างขึ้น พระองค์นำโปรแกรมออกแสดงเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 มีคำถามว่า เหตุใดพระองค์ท่านจึงทรงสนพระราชหฤทัยในตัวอักษรเทวนาครีหรือภาษาแขก เรื่องนี้มีผู้อธิบายไว้ว่า ในหลวงที่รักของพวกเรานั้น ทรงศึกษาข้อธรรมะในพระพุทธศาสนาอย่างจริงจังและลึกซึ้ง การที่ทรงศึกษาตัวอักษรแขก ก็เพื่อเป็นการนำไปสู่ความเข้าใจด้านอักษรศาสตร์ และความเข้าใจในหัวข้อธรรมะนั่นเอง เรื่องนี้นับว่าพระองค์มีวิจารณญาณที่ลึกซึ้งยิ่งนัก เพราะคำสอนและข้อธรรมะในพุทธศาสนานั้น เดิมทีก็เกิดและเผยแพร่มาจากประเทศอินเดีย บรรดาธรรมะที่ลึกซึ้งและยากแก่ความเข้าใจ ก็อาจจะถูกตีความผันแปรบิดเบือนไปได้ ดังนั้นการศึกษาค้นคว้าลึกลงไปถึงภาษาแขก จึงน่าจะได้ความรู้เกี่ยวกับธรรมะชัดเจนกระจ่างมากขึ้น         ....ต่อมาได้มีผู้ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องคอมพิวเตอร์ IBM PC Compatible และทรงสนพระทัยศึกษาในการพัฒนา Software ต่างๆ และได้สร้างโปรแกรมใหม่ๆ ขึ้นมา รวมทั้งสนพระทัยในเทคนิคการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบนี้มากทีเดียว บางครั้งทรงเปิดเครื่องออกดูระบบต่างๆ ภายในด้วยพระองค์เอง หรือทรงปรับปรุง Software ใหม่ขึ้นใช้ ทรงแก้ซอฟต์แวร์ในเครื่อง เช่น โปรแกรมภาษาไทย CU WRITER ให้เป็นไปตามพระราชประสงค์   ....จะเห็นได้ว่าพระองค์ทรงใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการพิมพ์ งานทรงพระอักษรส่วนพระองค์ และทรงเก็บงานเหล่านี้เป็นเรื่องๆ มาปะติดปะต่อกัน จะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ และบทพระราชนิพนธ์ต่างๆ เช่น เรื่องนายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ เป็นต้น ผลงานอีกชิ้นหนึ่งที่พระองค์ทรงประดิษฐ์ก็คือ การใช้คอมพิวเตอร์ "ปรุง" อวยพรปีใหม่ เพื่อพระราชทานแก่ข้าราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง แต่เดิมพระองค์ได้พระราชทานผ่านเครื่องเทเล็กซ์ นอกจากนี้พระองค์ทรงสนพระทัยคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก สังเกตได้จากขณะเสด็จพระราชดำเนินชมงานนิทรรศการต่างๆ เช่น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พระองค์สนพระทัยซักถามอาจารย์และนักศึกษาที่ประดิษฐ์ซอฟต์แวร์ต่างๆ อย่างละเอียดและเป็นเวลานาน       จัดทำโดย  นางสาว ณัฐพร   ตีระวัฒนานนท์   อ้างอิง  http://www.tanti.ac.th/webdesignbystudent/pothong/index.htm
by pijika
             ชายหนุ่มใจดีคนหนึ่ง มารับพาไปงานคอนเสิร์ตการเมือง ครั้งที่ 1 จ.ชลบุรี เขามารับจากหน้าบ้านตอนบ่ายๆ และพามาส่งถึงหน้าบ้านตอนดึกๆ โดยสวัสดิภาพ           ขอบคุณน้ำใจเพื่อนใน MBlog คนนี้ และขอเก็บไว้ในความทรงจำไว้ตรงนี้            
by busabababab
ในหลวงกับ IT          โลกในปัจจุบันมีความซับซ้อน และสังคมโลกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันยิ่งกว่ายุคใดๆ ในอดีต การพัฒนาตัวเองให้ก้าว ทันโลกจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ตลอดระยะเวลา 50ปี แห่งการครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงอุทิศพระองค์เพื่อสร้างความเจริญก้าวหน้าแก่ประเทศ พระองค์ทรงเป็นผู้นำในการใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนไทย ทรงมีพระราชวินิจฉัยอันแหลมคมในการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพสังคม ไทย ตลอดจนพระราชทานพระราชดำริอันทรงคุณค่า แก่ผู้ปฏิบัติงานในแขนงต่างๆ เพื่อปรับปรุงการทำงานให้ได้ผลดียิ่งขึ้น ทั้งในด้านการอนุรักษ์และพัฒนา     ในหลวงกับคอมพิวเตอร์        พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่สนพระทัยใฝ่รู้และทรงศึกษาอย่างจริงจังลึกซึ้งในกา ร ค้นคว้าวิจัยเพื่อการพัฒนาในทางวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การเกษตร การชลประทาน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการใช้เครื่องมือเทคโนโลยี ต่างๆ โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศนั้น ทรงเห็นความสำคัญและประโยชน์อย่างยิ่ง   ทรงสนับสนุนการค้นคว้าในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในด้านส่วนพระองค์นั้น ทรงศึกษาคิดค้นสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อ การประมวลผลข้อมูลต่างๆ ด้วยพระองค์เอง ทรงประดิษฐ์รูปแบบตัวอักษรไทยที่มีลักษณะงดงาม เพื่อแสดงผลบนจอภาพ คอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ ทรงใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อบันทึกพระราชกรณียกิจต่างๆ และทรงติดตั้งเครือข่ายสื่อสาร คอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนพระราชภารกิจต่างๆ ทั้งยังทรงเคยประดิษฐ์ ส.ค.ส. ด้วยคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ผ่านสื่อมวลชนเพื่อทรงอวยพรปวงชนชาวไทย           ความเป็นมาที่พระองค์ท่านทรงเริ่มใช้คอมพิวเตอร์นั้น ม.ล.อัศนี ปราโมช ได้ตกลงใจซื้อคอมพิวเตอร์แมคอินทอชพลัส อันเป็นเครื่องที่ทันสมัยที่สุดในยุคนั้นขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย คุณสมบัติอย่างหนึ่งที่ ม.ล.อัศนี เลือกเครื่องนี้ เพราะสามารถเก็บและพิมพ์โน้ตเพลงได้ การเรียนรู้และใช้งานไม่ยาก ทั้งยังอาจเชื่อมต่ออุปกรณ์พิเศษสำหรับเล่นดนตรีตามโน้ตเพลงที่เก็บไว้ได้ด้ วย ตั้งแต่นั้น พระองค์ทรงใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในงานส่วนพระองค์ทางด้านดนตรี โดยทรงใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการป้อนโน้ตเพลงและเนื้อร้องพระองค์ท่านทรงศึ กษาวิธีการใช้เครื่องและโปรแกรมที่เกี่ยวข้องด้วยพระองค์เอง สำหรับเรื่องอักขระคอมพิวเตอร์หรือฟอนต์ นั้นเป็นที่สนพระราชหฤทัย ก็เพราะหลังจากที่พระองค์ท่านได้ทรงศึกษา และใช้คอมพิวเตอร์ทำโน้ต คือเมื่อประมาณเดือนธันวาคม พ.ศ. 2529 และทรงทดลองใช้โปรแกรม "Fontastic" เมื่อประมาณเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2530 สิ่งที่ทรงสนพระทัยเป็นพิเศษคือการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย ได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยหลายแบบ เช่น แบบจิตรลดา แบบภูพิงค์ ฯลฯ ทรงสนพระทัยประดิษฐ์อักษรขนาดใหญ่ที่สุดจนถึงขนาดเล็กที่สุด นอกจากนี้ยังตั้งพระทัยในการประดิษฐ์อักษรภาษาอื่นๆ เพิ่มขึ้น คือภาษาสันสกฤต และทรงดำริจะประดิษฐ์อักษรภาษาญี่ปุ่น แต่ขณะนี้ยังไม่ได้เริ่มประดิษฐ์ รับสั่งว่าต้องใช้เวลามาก ต่อมาก็ได้ทรงหันมาศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์แสดงตัวเทวนาครีบนจอภาพ หรือที่พระองค์ท่าน ทรงเรียกว่า "ภาษาแขก"ซึ่งจัดทำได้ยากกว่าตัวอักษรภาษาไทย เพราะตัวอักษรเทวนาครีนั้นรูปแบบไม่คงที่ กล่าวคือ ถ้านำส่วนหนึ่งของอักษรนำมาต่อรวมกับอีกส่วนหนึ่งของอักษร จะเกิดอักษรใหม่ขึ้น และโปรแกรมที่พระองค์ทรงสร้างขึ้นนั้นมีตัว phonetic symbols การสร้างตัวอักษรเทวนาครีนั้น ทรงเริ่มเมื่อประมาณเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2530 ทรงศึกษาตัวอักษรเทวนาครีด้วยพระองค์เอง จากพจนานุกรมและตำราภาษาสันสกฤต และทรงสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีสันสกฤต เช่น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี และท่านองคมนตรี ม.ล. จิรายุ นพวงศ์ ซึ่งจะต้องตรวจสอบตัวอักษรที่ทรงสร้างขึ้น พระองค์นำโปรแกรมออกแสดงเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 มีคำถามว่า เหตุใดพระองค์ท่านจึงทรงสนพระราชหฤทัยในตัวอักษรเทวนาครีหรือภาษาแขก เรื่องนี้มีผู้อธิบายไว้ว่า ในหลวงที่รักของพวกเรานั้น ทรงศึกษาข้อธรรมะในพระพุทธศาสนาอย่างจริงจังและลึกซึ้ง การที่ทรงศึกษาตัวอักษรแขก ก็เพื่อเป็นการนำไปสู่ความเข้าใจด้านอักษรศาสตร์ และความเข้าใจในหัวข้อธรรมะนั่นเอง เรื่องนี้นับว่าพระองค์มีวิจารณญาณที่ลึกซึ้งยิ่งนัก เพราะคำสอนและข้อธรรมะในพุทธศาสนานั้น เดิมทีก็เกิดและเผยแพร่มาจากประเทศอินเดีย บรรดาธรรมะที่ลึกซึ้งและยากแก่ความเข้าใจ ก็อาจจะถูกตีความผันแปรบิดเบือนไปได้ ดังนั้นการศึกษาค้นคว้าลึกลงไปถึงภาษาแขก จึงน่าจะได้ความรู้เกี่ยวกับธรรมะชัดเจนกระจ่างมากขึ้น        ต่อมาได้มีผู้ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องคอมพิวเตอร์ IBM PC Compatible และทรงสนพระทัยศึกษาในการพัฒนา Software ต่างๆและได้สร้างโปรแกรมใหม่ๆ ขึ้นมา รวมทั้งสนพระทัยในเทคนิคการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบนี้มากทีเดียว บางครั้งทรงเปิดเครื่องออกดูระบบต่างๆ ภายในด้วยพระองค์เอง หรือทรงปรับปรุง Software ใหม่ขึ้นใช้ ทรงแก้ซอฟต์แวร์ในเครื่อง เช่น โปรแกรมภาษาไทย CU WRITER ให้เป็นไปตามพระราชประสงค์        จะเห็นได้ว่าพระองค์ทรงใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการพิมพ์ งานทรงพระอักษรส่วนพระองค์ และทรงเก็บงานเหล่านี้เป็นเรื่องๆ มาปะติดปะต่อกัน จะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ และบทพระราชนิพนธ์ต่างๆ เช่น เรื่องนายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ เป็นต้น ผลงานอีกชิ้นหนึ่งที่พระองค์ทรงประดิษฐ์ก็คือ การใช้คอมพิวเตอร์ "ปรุง" อวยพรปีใหม่ เพื่อพระราชทานแก่ข้าราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง แต่เดิมพระองค์ได้พระราชทานผ่านเครื่องเทเล็กซ์ นอกจากนี้พระองค์ทรงสนพระทัยคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก สังเกตได้จากขณะเสด็จพระราชดำเนินชมงานนิทรรศการต่างๆ เช่น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พระองค์สนพระทัยซักถามอาจารย์และนักศึกษาที่ประดิษฐ์ซอฟต์แวร์ต่างๆ อย่างละเอียดและเป็นเวลานาน     พระไตรปิฎกฉบับคอมพิวเตอร์       ในส่วนที่เกี่ยวกับศาสนานั้น ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ บริจาคทรัพย์ส่วนพระองค์ จำนวน 1,472,900 บาท ในเดือนพฤษภาคม2534 ให้มหาวิทยาลัยมหิดล จัดทำโครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาพระไตรปิฎก และอรรถกถาต่อเนื่องจากโครงการพระไตรปิฎกฉบับคอมพิวเตอร์เดิม ที่มหาวิทยาลัยมหิดลพัฒนาเสร็จแล้ว และได้ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อร่วมเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสรัชมังคลาภิเษก 2 กรกฎาคม 2531 ทรงเห็นว่าโครงการนี้ควรได้รวบรวมเอาชุดอรรถกถาและฎีกาเข้าไว้ด้วยกัน นับเป็นโครงการที่นำวิทยาการชั้นสูงมาประยุกต์ใช้กับข้อมูลเนื้อหาทางด้านพุ ทธศาสนา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกและอรรถกถาฉบับคอมพิวเตอร์นี้ด้วยพระองค์เอง และมีพระบรมราชวินิจฉัย และพระราชวิจารณ์ในการออกแบบโปรแกรมสำหรับใช้ในการสืบค้นข้อมูล ในฐานะแห่งองค์เอกอัครศาสนูปถัมภก การครั้งนี้กล่าวได้ว่า เป็นการสืบต่อพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืนยาวนานสืบไปในอนาคตกาลเพราะโครงการพระร าชดำรินี้ เป็นส่วนสนับสนุนอย่างสำคัญ ที่ทำให้การศึกษาพระไตรปิฎกและชุดอรรถกถาเป็นไปได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ อีกทั้งรวบรวมเนื้อหาไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ เป็นประโยชน์โดยตรงต่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา นับเป็นการใช้วิทยาการอันก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรร ค์ สำหรับโครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อการศึกษาพระไตรปิฎกและอรรถกถาตามพระราชดำรินี้ ได้พัฒนาแล้วเสร็จในเดือนพฤศจิกายน 2534 ในชื่อ BUDSIR IV โดยพัฒนาต่อเนื่องจาก โปรแกรม BUDSIR (อ่านออกเสียงว่า บุดเซอร์) มาจากคำว่าBuddhist Scriptures Information Retrieval สำหรับประวัติของ BUDSIR นั้น BUDSIR I สามารถค้นหาคำทุกคำศัพท์ทุกศัพท์ ทุกวลี ทุกพุทธวจนะ ที่มีปรากฏในพระไตรปิฎก จำนวน 45 เล่ม หรือข้อมูลมากกว่า 24.3 ล้านตัวอักษร ที่ได้รับการบันทึกในคอมพิวเตอร์ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และครบถ้วนสมบูรณ์ BUDSIR II พัฒนาแล้วเสร็จในเดือนกันยายน 2532ซึ่งเป็นพระไตรปิฎกอักษรโรมัน สำหรับการเผยแผ่ไปยังต่างประเทศ BUDSIR III ได้รับการพัฒนาขึ้นอีกในเดือนเมษายน 2533เพื่องานสืบค้นที่มีความซับซ้อน สำหรับ BUDSIR IV นี้ ได้รวบรวมพระไตรปิฎกและอรรถกถา/ฎีกา รวมทั้งคัมภีร์ทุกเล่มที่ใช้ศึกษาหลักสูตรเปรียญธรรม นอกจากนี้ยังรวม version ที่เป็นอักษรโรมันเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งมีขนาดข้อมูลรวม 115 เล่ม หรือประมาณ 450 ล้านตัวอักษร นับเป็นพระไตรปิฎกและอรรถกถา ฉบับคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์ที่สุดในปัจจุบัน และมหาวิทยาลัยมหิดลยังได้พัฒนาโครงการดังกล่าวเพิ่มเติม โดยบันทึกพระไตรปิฎกและอรรถกถา ลงบนแผ่น CD-ROM แล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม2537 ซึ่งจะอำนวยความสะดวกอย่างมากต่อผู้ที่ต้องการจะศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎก ไม่ว่าจะเป็นชาวไทย หรือชาวต่างประเทศซึ่งมหาวิทยาลัยได้ทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 18 มกราคม 2538 และในปัจจุบันสำนักคอมพิวเตอร์ ได้เริ่มโครงการพัฒนาโปรแกรมพระไตรปิฎกคอมพิวเตอร์ ฉบับภาษาไทย เพื่อให้พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้ศึกษา อันจะเป็นการส่งเสริมให้มีการใช้งานโปรแกรมนี้ให้แพร่หลายยิ่งขึ้น     ในหลวงกับการสื่อสาร       "พระองค์ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการสื่อสารว่า การสื่อสารเป็นปัจจัยสำคัญในการดำเนินธุรกิจทุกประเภท, การสื่อสารเป็นหัวใจของความมั่นคงของประเทศ และการสื่อสารเป็นองค์ประกอบที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาประเทศให้ประชาชนอยู่ดีก ินดี"   พระราชกรณียกิจด้านสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์          พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระทัยด้านการสื่อสารตั้งแ ต่ทรงพระเยาว์ "...ทรงทดลองต่อสายไฟพ่วงขนานกับลำโพงขยาย ของเครื่องรับวิทยุส่วนพระองค์ที่ผลิตจากประเทศสวีเดน ยี่ห้อ 'Centrum' จากห้องที่ประทับพระองค์ท่านไปยังห้องที่ประทับของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ทั้งสองพระองค์ทรงพอพระทัยในบริการเสียงตามสายไม่น้อย..." (สุชาติเผือกสกนธ์, วันสื่อสารแห่งชาติ : 2530) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงอุทิศพระองค์ พระอัจฉริยะและพระอุตสาหะทั้งมวล เพื่อราษฎรในทุกภูมิภาค พระองค์ทรงมีดำริให้มีการพัฒนาด้านระบบวิทยุสื่อสารอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กล่าวคือสามารถรับส่งได้ไกลยิ่งขึ้นดังจะเห็นได้จากการที่พระองค์ทรงใช้เครื ่องมือสื่อสารพกติดพระองค์ เพื่อประกอบพระราชกรณียกิจต่างๆ อยู่เสมอ เพราะสิ่งที่พระองค์ทรงขาดไม่ได้คือการสดับตรับฟังข่าวทุกข์สุขของประชาชน ดังเช่น ในระหว่างการเสด็จเยี่ยมราษฎรได้ทรงพบว่า มีผู้ใดที่กำลังป่วยเจ็บจำเป็นต้องบำบัดรักษา จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะแพทย์ผู้ตามเสด็จดูแลตรวจรักษาทันทีในบางรายที่มีอาการป่วยหนัก จำเป็นต้องส่งตัวเข้าบำบัดรักษาในโรงพยาบาลท้องถิ่นหรือโรงพยาบาลในกรุงเทพม หานครโดยเร็วหากมีเวลาเพียงพอ พระองค์ท่านจะรับสั่งผ่านทางวิทยุถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ ตำรวจตระเวนชายแดน ขอรับการสนับสนุนเรื่องการขนส่ง เช่น เฮลิคอปเตอร์ เพื่อนำผู้ป่วยเจ็บส่งยังที่หมายปลายทางด้วยพระองค์เอง นอกจากนี้ พระองค์ได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำระบบสื่อสารแบบถ่ายทอดสัญญาณหรื อ Repeater ซึ่งเชื่อมต่อทางวงจรทางไกลขององค์การโทรศัพท์ฯ ให้มูลนิธิแพทย์อาสาฯ (พอ.สว.) นำไปใช้เพื่อช่วยเหลือรักษาพยาบาลแก่ผู้เจ็บป่วยในท้องถิ่นห่างไกล ในเรื่องการปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงพระราชทาน ในการปฏิบัติระยะแรกๆ ได้ประสบปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่ไม่ทราบล่วงหน้า ซึ่งนักบินผู้ปฏิบัติจำเป็นต้องได้รับคำแนะนำแก้ไขโดยฉับพลัน เนื่องจากยังไม่มีการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติการด้วยกัน จึงเป็นเหตุให้ไม่ได้ผลเท่าที่ควร กล่าวคือฝนไม่ตกในเป้าหมายบ้าง ตกน้อย หรือไม่ตกตามที่คิดบ้าง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงสดับตรับฟังข่าวการปฏิบัติการฝนเทียมทุกคร ั้ง และทรงทราบถึงปัญหาสำคัญคือ การขาดการติดต่อสื่อสารที่ดี จึงโปรดเกล้าฯ ให้ติดตั้งวิทยุให้แก่หน่วยปฏิบัติการฝนเทียม ทั้งทางอากาศและทางภาคพื้นดิน นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริให้ทำการศึกษาวิจัย รวมถึงการออกแบบและสร้างสายอากาศย่านความถี่สูงมาก หรือที่เรียกว่า VHF (วี.เอช.เอฟ) ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ประการแรก เพื่อที่จะได้ใช้งานกับวิทยุส่วนพระองค์ ทั้งนี้โดยมีพระราชประสงค์ที่จะให้ทราบเหตุการณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของสาธารณภัยที่เกิดขึ้นกับประชาชน เรื่องไฟไหม้ เรื่องน้ำท่วม ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อที่จะได้ทรงช่วยเหลือได้ทันท่วงที ประการที่สอง เพื่อที่จะพระราชทานให้แก่หน่วยราชการต่างๆ ประการที่สาม เพื่อส่งเสริมให้คนไทยที่มีความรู้ ความสามารถและตั้งใจจริง ได้ใช้ความอุตสาหวิริยะในการพัฒนาระบบวิทยุสื่อสารขึ้นใช้เองภายในประเทศ นอกเหนือจากวิทยุสื่อสารแล้ว ในเรื่องของเทเล็กซ์พระองค์ทรงสนพระทัยอยู่ไม่น้อย และสิ่งหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่เคยทรงขาดคือ การพระราชทานพรปีใหม่ นอกจากจะทรงมีกระแสพระราชดำรัส พระราชทานพรปีใหม่แก่พสกนิกรไทยทางวิทยุและโทรทัศน์ทุกแห่งแล้ว พระองค์ท่านยังทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานพรทางเทเล็กซ์สม่ำเสมอทุกปี แต่ในปัจจุบันท่านทรงใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการประดิษฐ์บัตรอวยพรปีใหม่แทน นอกจากนี้พระองค์ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการสื่อสารว่า การสื่อสารเป็นปัจจัยสำคัญในการดำเนินธุรกิจทุกประเภท,การสื่อสารเป็นหัวใจข องความมั่นคงของประเทศ และการสื่อสารเป็นองค์ประกอบที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาประเทศให้ประชาชนอยู่ดีก ินดี     พระราชกรณียกิจด้านวิทยุกระจายเสียง         พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระทัยในเรื่องวิทยุเป็นอย่างมาก ตั้งแต่เมื่อครั้งยังเยาว์ ซึ่งพระองค์ประทับอยู่ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พระองค์ได้ทรงซื้ออุปกรณ์เครื่องรับวิทยุ ซึ่งมีวางขายเลหลังราคาถูกทรงประกอบเป็นเครื่องรับวิทยุชนิดแร่ สามารถรับฟังวิทยุกระจายเสียงในยุโรปได้หลายแห่ง ต่อมาเมื่อกิจการวิทยุเจริญก้าวหน้ามากขึ้น ได้นำหลอดวิทยุมาใช้ในเครื่องรับ-ส่งวิทยุ และเครื่องขยายเสียง และพระองค์ท่านก็ได้ทรงทดลองอุปกรณ์แบบใหม่นี้ด้วยเช่นกัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินกลับมา ประทับอยู่ในประเทศไทยเป็นการถาวร ในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ได้ทรงตั้งสถานีวิทยุ อ.ส. ขึ้นที่พระราชวังสวนดุสิต และชื่อสถานีวิทยุดังกล่าวได้ทรงนำมาจากอักษรย่อของพระที่นั่งอัมพรสถาน ซึ่งเป็นสถานที่ที่ใช้ออกอากาศครั้งแรก ต่อมาจึงย้ายสถานีวิทยุ อ.ส. เข้าไปตั้งในบริเวณพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สถานีวิทยุ อ.ส. เมื่อแรกตั้งเป็นสถานีเล็กๆ มีเครื่องส่ง 2 เครื่อง ขนาดที่มีกำลังส่ง 100 วัตต์ ออกอากาศด้วยคลื่นสั้นและคลื่นยาวในระบบ AM พร้อมๆ กัน เครื่องส่งรุ่นแรกนี้เป็นเครื่องที่ กรมประชาสัมพันธ์ทูลเกล้าฯ ถวายและติดตั้งให้ด้วยเมื่อออกอากาศไปได้ระยะหนึ่ง และในระบบคลื่นสั้นก็มีจดหมายรายงานผลการรับฟัง เข้ามาจากหลายประเทศ เช่น นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาเยอรมันฯ เป็นต้น ดังนั้นจึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้ขยายกำลังส่ง โดยมีชื่อรหัสสถานีว่า HS 1 AS ในปี พ.ศ. 2525 สถานีวิทยุ อ.ส. ได้เพิ่มการส่งกระจายเสียงในระบบ FM ขึ้นอีกระบบหนึ่ง ในการขยายด้านกำลังส่งนั้นอุปกรณ์ต่างๆ ล้วนแต่มีผู้โดยเสด็จพระราชกุศลเพื่อให้สถานีวิทยุ อ.ส. สามารถบริการประชาชนได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น อาจถือได้ว่าเป็นสถานีวิทยุเอกชนเพียงแห่งเดียวที่สามารถกระจายเสียงคลื่นสั ้นได้ ทั้งนี้เพราะถือว่าเป็นเครือข่ายกรมประชาสัมพันธ์ พระองค์ทรงมีวัตถุประสงค์ที่ทรงตั้งสถานีวิทยุ อ.ส. เพื่อเปิดโอกาสให้พสกนิกรมีช่องทางในการติดต่อกับพระองค์ได้ง่ายขึ้นไม่ต้อง ผ่านกระบวนการขั้นตอนตามพิธีการเหมือนในสมัยก่อน ทรงใช้สถานีวิทยุเพื่อเป็นสื่อในการประชาสัมพันธ์ติดต่อข่าวสารกับประชาชน และเป็นสื่อสัมพันธ์ระหว่างพระองค์และประชาราษฎร์ ที่ทรงแสดงให้ทราบถึงใจรักที่พระองค์ท่านพระราชทานให้กับประชาชนทั่วทุกคน นอกเหนือจากเป็นสถานีวิทยุของสื่อมวลชนเพื่อการบันเทิง และเผยแพร่ความรู้กับประชาชนแล้ว ยังได้ทำหน้าที่แจ้งข่าวสารแก่ประชาชนในโอกาสสำคัญ หรือเกิดเหตุการณ์ที่สำคัญต่างๆ ขึ้น เช่น การเกิดโรคโปลีโอระบาดในปี พ.ศ. 2495 อหิวาตกโรคในปีพ.ศ. 2501 และเมื่อเกิดวาตภัยที่แหลมตะลุมพุกในปี พ.ศ. 2505 โดยมีพระราชดำริให้ใช้สถานีวิทยุ อ.ส. เพื่อทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการช่วยเหลือผู้ประสบเคราะห์กรรม จนเป็นบ่อเกิดของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ซึ่งปัจจุบันมีคุณขวัญแก้ว วัชโรทัย ทำหน้าที่นายสถานี เล่าให้ฟังว่า นโยบายหลักเกี่ยวกับการบริหารงานของสถานี ตามที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานไว้ก็คือ การเปิดโอกาสให้คนที่มีความรู้ ความสามารถ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยราชการหรือเอกชน ได้เข้ามาสนองพระมหากรุณาธิคุณให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ดังนั้นเจ้าหน้าที่ของสถานีจึงเป็นอาสาสมัครทั้งสิ้น และทรงรับภาระต่างๆ ด้านสถานีด้วยทุนทรัพย์ส่วนพระองค์พระองค์ทรงใช้นโยบายประหยัดและใช้ประโยชน ์ให้คุ้มค่าที่สุด และในปัจจุบันนี้สถานีวิทยุ อ.ส. ยังคงกระจายเสียงเป็นประจำทุกวันเว้นวันจันทร์ โดยออกอากาศทั้งคลื่นสั้นและคลื่นยาว ในระบบ AM 1332 KHzและ FM 104 MHz ควบคู่กันไปด้วยกำลังส่ง 10 กิโลวัตต์ โดยออกอากาศวันอังคารถึงวันเสาร์ เวลา 10.30-12.00 และ 16.00-19.00 วันอาทิตย์ เวลา 9.00-12.00หยุดทุกวันจันทร์ พระราชกรณียกิจด้านดาวเทียม           ดาวเทียมไทยคมนับว่า เป็นจุดเปลี่ยนที่ทำให้การสื่อสารโทรคมนาคมของไทยก้าวสู่ยุคแห่งความล้ำหน้า และได้เข้ามามีส่วนร่วมในการสนองพระราชดำริในเรื่องของการศึกษา คุณขวัญแก้ว วัชโรทัย เป็นผู้สนองพระราชภารกิจที่โรงเรียนไกลกังวล หัวหินซึ่งขณะนี้ได้พยายามที่จะนำเอาดาวเทียมไทยคมเข้าไปใช้ในกิจการด้านการ เรียนการสอน เจตนารมณ์ดังกล่าวเป็นการสนองตอบความต้องการของประชาชน และเป็นการปรับปรุงในเรื่องของการศึกษาให้สอดคล้องกับยุคสมัยอีกด้วย อีกทั้งยังเป็นการจัดการศึกษาใต้ร่มพระบารมีอย่างแท้จริง และที่สำคัญเพื่อเป็นการสนองพระบรมราโชบายทางการศึกษา ในอันที่จะทำให้โรงเรียนไกลกังวลเป็นเครือข่ายและเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาไ ทยคมอย่างแท้จริง กล่าวได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเป็นอเนกอนันต์ต่อประเทศชาติ ที่ได้มีพระราชดำริให้มีการพัฒนางานทางระบบวิทยุสื่อสารขึ้นในประเทศอย่างจร ิงจัง และต่อเนื่อง เพราะสังคมปัจจุบันนั้น การสื่อสารก็เปรียบเสมือนกับระบบประสาทของร่างกายมนุษย์ ดังนั้นจึงนับได้ว่า พระองค์ท่านนั้นมีสายพระเนตรที่ยาวไกล ทรงเห็นบทบาทที่สำคัญยิ่งต่อการสื่อสาร     จัดทำโดย  นางสาวบุษบา  วงศ์แจ้ง    51116930239     อ้างอิง    http://www.yupparaj.ac.th/special/TheKing&IT/taratip/index.htm
by withwit
ทำให้นึกถึงภาษิตฝรั่งที่ว่า The more things change the more they remain the same.      
by 51116930249
พระราชกรณียกิจในด้าน IT   1. พระราชกรณียกิจด้านสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระทัยด้านการสื่อสารตั้งแต่ทรงพระเยาว์ "...ทรงทดลองต่อสายไฟพ่วงขนานกับลำโพงขยาย ของเครื่องรับวิทยุส่วนพระองค์ที่ผลิตจากประเทศสวีเดน ยี่ห้อ 'Centrum' จากห้องที่ประทับพระองค์ท่านไปยังห้องที่ประทับของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ทั้งสองพระองค์ทรงพอพระทัยในบริการเสียงตามสายไม่น้อย..." (สุชาติ เผือกสกนธ์, วันสื่อสารแห่งชาติ : 2530) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงอุทิศพระองค์ พระอัจฉริยะและพระอุตสาหะทั้งมวล เพื่อราษฎรในทุกภูมิภาค พระองค์ทรงมีดำริให้มีการพัฒนาด้านระบบวิทยุสื่อสารอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กล่าวคือสามารถรับส่งได้ไกลยิ่งขึ้น ดังจะเห็นได้จากการที่พระองค์ทรงใช้เครื่องมือสื่อสารพกติดพระองค์ เพื่อประกอบพระราชกรณียกิจต่างๆ อยู่เสมอ เพราะสิ่งที่พระองค์ทรงขาดไม่ได้คือการสดับตรับฟังข่าวทุกข์สุขของประชาชน ดังเช่น ในระหว่างการเสด็จเยี่ยมราษฎรได้ทรงพบว่า มีผู้ใดที่กำลังป่วยเจ็บจำเป็นต้องบำบัดรักษา จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะแพทย์ผู้ตามเสด็จดูแลตรวจรักษาทันที ในบางรายที่มีอาการป่วยหนัก จำเป็นต้องส่งตัวเข้าบำบัดรักษาในโรงพยาบาลท้องถิ่นหรือโรงพยาบาลในกรุงเทพม หานครโดยเร็ว หากมีเวลาเพียงพอ พระองค์ท่านจะรับสั่งผ่านทางวิทยุถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ ตำรวจตระเวนชายแดน ขอรับการสนับสนุนเรื่องการขนส่ง เช่น เฮลิคอปเตอร์ เพื่อนำผู้ป่วยเจ็บส่งยังที่หมายปลายทางด้วยพระองค์เอง นอกจากนี้ พระองค์ได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำระบบสื่อสารแบบถ่ายทอดสัญญาณหรื อ Repeater ซึ่งเชื่อมต่อทางวงจรทางไกลขององค์การโทรศัพท์ฯ ให้มูลนิธิแพทย์อาสาฯ (พอ.สว.) นำไปใช้เพื่อช่วยเหลือรักษาพยาบาลแก่ผู้เจ็บป่วยในท้องถิ่นห่างไกล ในเรื่องการปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลวงพระราชทาน ในการปฏิบัติระยะแรกๆ ได้ประสบปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่ไม่ทราบล่วงหน้า ซึ่งนักบินผู้ปฏิบัติจำเป็นต้องได้รับคำแนะนำแก้ไขโดยฉับพลัน เนื่องจากยังไม่มีการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติการด้วยกัน จึงเป็นเหตุให้ไม่ได้ผลเท่าที่ควร กล่าวคือฝนไม่ตกในเป้าหมายบ้าง ตกน้อย หรือไม่ตกตามที่คิดบ้าง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงสดับตรับฟังข่าวการปฏิบัติการฝนเทียมทุกคร ั้ง และทรงทราบถึงปัญหาสำคัญคือ การขาดการติดต่อสื่อสารที่ดี จึงโปรดเกล้าฯ ให้ติดตั้งวิทยุให้แก่หน่วยปฏิบัติการฝนเทียม ทั้งทางอากาศและทางภาคพื้นดิน           นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริให้ทำการศึกษาวิจัย รวมถึงการออกแบบและสร้างสายอากาศย่านความถี่สูงมาก หรือที่เรียกว่า VHF (วี.เอช.เอฟ) ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ประการแรก เพื่อที่จะได้ใช้งานกับวิทยุส่วนพระองค์ ทั้งนี้โดยมีพระราชประสงค์ที่จะให้ทราบเหตุการณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของสาธารณภัยที่เกิดขึ้นกับประชาชน เรื่องไฟไหม้ เรื่องน้ำท่วม ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อที่จะได้ทรงช่วยเหลือได้ทันท่วงที ประการที่สอง เพื่อที่จะพระราชทานให้แก่หน่วยราชการต่างๆ ประการที่สาม เพื่อส่งเสริมให้คนไทยที่มีความรู้ ความสามารถและตั้งใจจริง ได้ใช้ความอุตสาหวิริยะในการพัฒนาระบบวิทยุสื่อสารขึ้นใช้เองภายในประเทศ           นอกเหนือจากวิทยุสื่อสารแล้ว ในเรื่องของเทเล็กซ์พระองค์ทรงสนพระทัยอยู่ไม่น้อย และสิ่งหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่เคยทรงขาดคือ การพระราชทานพรปีใหม่ นอกจากจะทรงมีกระแสพระราชดำรัส พระราชทานพรปีใหม่แก่พสกนิกรไทยทางวิทยุและโทรทัศน์ทุกแห่งแล้ว พระองค์ท่านยังทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานพรทางเทเล็กซ์สม่ำเสมอทุกปี แต่ในปัจจุบันท่านทรงใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการประดิษฐ์บัตรอวยพรปีใหม่แทน นอกจากนี้พระองค์ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการสื่อสารว่า การสื่อสารเป็นปัจจัยสำคัญในการดำเนินธุรกิจทุกประเภท, การสื่อสารเป็นหัวใจของความมั่นคงของประเทศ และการสื่อสารเป็นองค์ประกอบที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาประเทศให้ประชาชนอยู่ดีก ินดี 2. พระราชกรณียกิจด้านวิทยุกระจายเสียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระทัยในเรื่องวิทยุเป็นอย่างมาก ตั้งแต่เมื่อครั้งยังเยาว์ ซึ่งพระองค์ประทับอยู่ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พระองค์ได้ทรงซื้ออุปกรณ์เครื่องรับวิทยุ ซึ่งมีวางขายเลหลังราคาถูกทรงประกอบเป็นเครื่องรับวิทยุชนิดแร่ สามารถรับฟังวิทยุกระจายเสียงในยุโรปได้หลายแห่ง ต่อมาเมื่อกิจการวิทยุเจริญก้าวหน้ามากขึ้น ได้นำหลอดวิทยุมาใช้ในเครื่องรับ-ส่งวิทยุ และเครื่องขยายเสียง และพระองค์ท่านก็ได้ทรงทดลองอุปกรณ์แบบใหม่นี้ด้วยเช่นกัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินกลับมา ประทับอยู่ในประเทศไทยเป็นการถาวร ในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ได้ทรงตั้งสถานีวิทยุ อ.ส. ขึ้นที่พระราชวังสวนดุสิต และชื่อสถานีวิทยุดังกล่าวได้ทรงนำมาจากอักษรย่อของพระที่นั่งอัมพรสถาน ซึ่งเป็นสถานที่ที่ใช้ออกอากาศครั้งแรก ต่อมาจึงย้ายสถานีวิทยุ อ.ส. เข้าไปตั้งในบริเวณพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สถานีวิทยุ อ.ส. เมื่อแรกตั้งเป็นสถานีเล็กๆ มีเครื่องส่ง 2 เครื่อง ขนาดที่มีกำลังส่ง 100 วัตต์ ออกอากาศด้วยคลื่นสั้นและคลื่นยาวในระบบ AM พร้อมๆ กัน เครื่องส่งรุ่นแรกนี้เป็นเครื่องที่ กรมประชาสัมพันธ์ทูลเกล้าฯ ถวายและติดตั้งให้ด้วยเมื่อออกอากาศไปได้ระยะหนึ่ง และในระบบคลื่นสั้นก็มีจดหมายรายงานผลการรับฟัง เข้ามาจากหลายประเทศ เช่น นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา เยอรมันฯ เป็นต้น ดังนั้นจึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้ขยายกำลังส่ง โดยมีชื่อรหัสสถานีว่า HS 1 AS ในปี พ.ศ. 2525 สถานีวิทยุ อ.ส. ได้เพิ่มการส่งกระจายเสียงในระบบ FM ขึ้นอีกระบบหนึ่ง ในการขยายด้านกำลังส่งนั้นอุปกรณ์ต่างๆ ล้วนแต่มีผู้โดยเสด็จพระราชกุศล เพื่อให้สถานีวิทยุ อ.ส. สามารถบริการประชาชนได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น อาจถือได้ว่าเป็นสถานีวิทยุเอกชนเพียงแห่งเดียวที่สามารถกระจายเสียงคลื่นสั ้นได้ ทั้งนี้เพราะถือว่าเป็นเครือข่ายกรมประชาสัมพันธ์ พระองค์ทรงมีวัตถุประสงค์ที่ทรงตั้งสถานีวิทยุ อ.ส. เพื่อเปิดโอกาสให้พสกนิกรมีช่องทางในการติดต่อกับพระองค์ได้ง่ายขึ้น ไม่ต้องผ่านกระบวนการขั้นตอนตามพิธีการเหมือนในสมัยก่อน ทรงใช้สถานีวิทยุเพื่อเป็นสื่อในการประชาสัมพันธ์ติดต่อข่าวสารกับประชาชน และเป็นสื่อสัมพันธ์ระหว่างพระองค์และประชาราษฎร์ ที่ทรงแสดงให้ทราบถึงใจรักที่พระองค์ท่านพระราชทานให้กับประชาชนทั่วทุกคน           นอกเหนือจากเป็นสถานีวิทยุของสื่อมวลชนเพื่อการบันเทิง และเผยแพร่ความรู้กับประชาชนแล้ว ยังได้ทำหน้าที่แจ้งข่าวสารแก่ประชาชนในโอกาสสำคัญ หรือเกิดเหตุการณ์ที่สำคัญต่างๆ ขึ้น เช่น การเกิดโรคโปลีโอระบาดในปี พ.ศ. 2495 อหิวาตกโรคในปี พ.ศ. 2501 และเมื่อเกิดวาตภัยที่แหลมตะลุมพุกในปี พ.ศ. 2505 โดยมีพระราชดำริให้ใช้สถานีวิทยุ อ.ส. เพื่อทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการช่วยเหลือผู้ประสบเคราะห์กรรม จนเป็นบ่อเกิดของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ซึ่งปัจจุบันมีคุณขวัญแก้ว วัชโรทัย ทำหน้าที่นายสถานี เล่าให้ฟังว่า นโยบายหลักเกี่ยวกับการบริหารงานของสถานี ตามที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานไว้ก็คือ การเปิดโอกาสให้คนที่มีความรู้ ความสามารถ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยราชการหรือเอกชน ได้เข้ามาสนองพระมหากรุณาธิคุณให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ดังนั้นเจ้าหน้าที่ของสถานีจึงเป็นอาสาสมัครทั้งสิ้น และทรงรับภาระต่างๆ ด้านสถานีด้วยทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ พระองค์ทรงใช้นโยบายประหยัดและใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่าที่สุด และในปัจจุบันนี้สถานีวิทยุ อ.ส. ยังคงกระจายเสียงเป็นประจำทุกวันเว้นวันจันทร์ โดยออกอากาศทั้งคลื่นสั้นและคลื่นยาว ในระบบ AM 1332 KHzและ FM 104 MHz ควบคู่กันไปด้วยกำลังส่ง 10 กิโลวัตต์ โดยออกอากาศวันอังคารถึงวันเสาร์ เวลา 10.30-12.00 และ 16.00-19.00 วันอาทิตย์ เวลา 9.00-12.00 หยุดทุกวันจันทร์ 3. พระราชกรณียกิจด้านดาวเทียม ดาวเทียมไทยคมนับว่า เป็นจุดเปลี่ยนที่ทำให้การสื่อสารโทรคมนาคมของไทยก้าวสู่ยุคแห่งความล้ำหน้า และได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการสนองพระราชดำริ ในเรื่องของการศึกษา คุณขวัญแก้ว วัชโรทัย เป็นผู้สนองพระราชภารกิจที่โรงเรียนไกลกังวล หัวหิน ซึ่งขณะนี้ได้พยายามที่จะนำเอาดาวเทียมไทยคม เข้าไปใช้ในกิจการด้านการเรียนการสอน เจตนารมณ์ดังกล่าว เป็นการสนองตอบความต้องการของประชาชน และเป็นการปรับปรุงในเรื่องของการศึกษาให้สอดคล้องกับยุคสมัยอีกด้วย อีกทั้งยังเป็นการจัดการศึกษาใต้ร่มพระบารมีอย่างแท้จริง และที่สำคัญเพื่อเป็นการสนองพระบรมราโชบายทางการศึกษา ในอันที่จะทำให้โรงเรียนไกลกังวลเป็นเครือข่ายและเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาไ ทยคมอย่างแท้จริง กล่าวได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเป็นอเนกอนันต์ต่อประเทศชาติ ที่ได้มีพระราชดำริ ให้มีการพัฒนางานทางระบบวิทยุสื่อสารขึ้นในประเทศอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง เพราะสังคมปัจจุบันนั้น การสื่อสารก็เปรียบเสมือนกับระบบประสาทของร่างกายมนุษย์ ดังนั้นจึงนับได้ว่า พระองค์ท่านนั้นมีสายพระเนตรที่ยาวไกล ทรงเห็นบทบาทที่สำคัญยิ่งต่อการสื่อสาร               อ้างอิง http://www.prdnorth.in.th/The_King/king_it_01.php   จัดทำโดย  นางสาว ขวัญชนก  ภักดีศรีสันติกุล  51116930249
by chaiyan00
วันอาทิตย์เงียบๆกับความหนาวเย็นแบบนี้ไม่มีอะไรที่จะดีไปกว่า กาแฟแก้วใหญ่ๆ ร้อนๆของเอกเพรสโซ ในตอนเช้า ที่จะทำให้อุณหภูมิในร่างกายกระเตื้องขึ้นมาได้บ้าง..กลับจากความ ร้อนในอาฟริกา มาสู่ความหนาวเย็นในยุโรปกับวันหยุดเสาร์อาทิตย์ ก่อนที่จะออกไป...เผญิชกับโลกภายนอกอีกครั้ง..หนีออกมากบดานอยู่นอกเมืองกับ ความหนาวเย็นที่มีอยู่ในกระท่อมไม้สนกับเตาผิงไฟเล็กๆแต่ให้ความร้อนสูงไม่ไ กลจากประเทศสวิสเท่าไร สภาพชีวิตมันมองดูแล้วเหมือน ขาวกับดำ บางครั้งนึกไม่ถึงว่าวันวานเราได้ไปอยู่ในส่วนหนึ่งของโลกกลางทะเลทรายที่มี ความร้อนสูง แต่ในวันนี้ ณ สถานที่นี้ กลับเป็นไปแบบตรงกันข้าม..ตอนเย็น คุณยายใจดีที่เฝ้าบ้าน นำอาหารมาให้ทาน โดยเริ่มต้นด้วยน้ำซุปร้อนๆ ของผักผสมในพื้นที่มาเป็นออเดิฟ ก่อนที่จะนำ หมูต้มกระลำปี( chouxcroute)ดองไวน์ กับใส้กรอกชิ้นโตๆสองสามชิ้นมาวางไว้บนโต้ะข้างๆเตาผิงไฟ ไวน์ขาว Riesling ของเขต อัลซาล ขวดเล็กๆหนึ่งขวด.. ความสัมผัสใหม่ในบรรยากาศที่มีอยู่ ทำให้เราลืมความร้อนที่เพิ่งได้ไปสำผัสมาอย่างสิ้นเชิง......
by phakri
     พระราชปุจฉาที่ 13 ว่าด้วยพระพุทธโฆษาจารย์ถวายเทศนา เรื่องพระโพธิสัตว เสวยพระชาติเปนพระยากระต่าย เนื้อความไม่ต้องกับพระพุทธฎีกา แก้พระราชปุจฉาที่ 13 (ความย่อ)                 พระพุทธโฆษาจารย์ ถวายวิสัชนาว่า             ถวายพระพรรับสารภาพว่า อาตมภาพถวายพระธรรมเทศนาเป็นสติสัมโมหะ ปราศจากปัญหา ถือแต่วาระพระบาลี มิได้ทันพิจารณาในอรรถาธิบาย จึงเข้าใจโดยอรรถอันผิด ขอพระราชทานอภัยโทษ

3 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ21 มกราคม 2552 เวลา 22:26

    ชอบมากๆ เลยค่ะ ขอบคุณค่ะ

    ตอบลบ
  2. ไม่ระบุชื่อ21 มกราคม 2552 เวลา 22:43

    ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆคับ

    ตอบลบ
  3. ไม่ระบุชื่อ31 มกราคม 2552 เวลา 16:27

    ขอบคุณค่ะ สำหรับบทความดี ๆ

    ตอบลบ