...การให้ที่ยิ่งใหญ่คือการให้ แม้กระทั่งเราไม่มี รวบรวมมาให้นิดนึงเดี๋ยวเบื่ออ่ พอดีจบจากยูแถวนี้ก็ ขั้นตอนการบริจาคร่างกาย | |
กรอกแบบฟอร์ม ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน ระบุผู้แจ้งการถึงแก่กรรม (ผู้แจ้งการถึงแก่กรรมหมายถึงผู ของผู้บริจาคร่างกาย มิได้เกี่ยวข้องกับมรดกอื่ แบบฟอร์มที่กรอกแล้ว แต่ขาดรูปถ่าย กรุณาส่งให้ทางไปรษณีย์มาที่ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช บางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 เขียนที่มุมซองว่า “บริจาคร่างกาย” ผู้บริจาคร่างกายจะได้รับบั ติดต่อขอรับได้ที่หมายเลขโทรศั หากทำบัตรหายกรุณาโทรแจ้งภาควิ หากผู้บริจาคเปลี่ยนแปลงที่อยู่ ท่านที่ต้องการยกเลิกพินั ข้อปฏิบัติเมื่อผู้บริจาคร่ • ห้ามฉีดยากันศพเน่า • โทร. แจ้งเจ้าหน้าที่ภาควิชาฯ ไปตรวจสภาพศพ และฉีดยาหลังจากเสียชีวิต ภายใน 24 ชม. • ที่เบอร์โทรศัพท์ 0 2419 7028, 0 2419 7030, 0 2411 2007 • ญาติต้องดำเนินการเรื่องใบมรณบั ข้อปฏิบัติเมื่อได้รับศพของผู้ • บริการฉีดยาและรับศพหลังจากเสร็ • ให้ญาติสวดตามประเพณีนิยมได้ไม่ • ศพของผู้บริจาคร่างกายจะจัดเก็ • ออกหนังสือรับรองการรั • จัดส่งใบอนุโมทนาบัตร หลังจากการรับศพของผู้บริจาคร่ ข้อแนะนำในการร่วมพิธี จัดพิธีทำบุญทุก ๆ ปี ประมาณเดือนเมษายน ญาติเข้าร่วมพิธีได้ไม่เกิน 4 คน ภาควิชาฯ มีรถบริการให้ญาติที่เข้าร่วมพิ ญาติสามารถนำศพของผู้บริจาคร่ จัดเก็บอัฐิของผู้บริจาคร่ รูปถ่ายของผู้บริจาคร่างกาย ขนาด 1 หรือ 2 นิ้ว จำนวน 1 ใบ ประวัติส่วนตัวของผู้บริจาคร่ คำไว้อาลัยของญาติ อันนี้เป็นของสภากาชาดไทยจ้า | |
ศูนย์รับบริจาคอวั | |
บริจาคอวัยวะ | |
คุณประโยชน์ ปัจจุบันมีผู้ วิธีรักษาทางการแพทย์ที่ดีที่สุ หรือได้จากญาติที่มี และสังคมต่อไปได้ อวัยวะใหม่ที่สามารถนำมาปลูกถ่ เปลี่ยนแทนอวัยวะเดิมที่เสื่ เพื่อให้อวัยวะใหม่นั้ ขั้นตอนการบริจาค 1. กรอกรายละเอียดในใบแสดงความจำนง 2. พิมพ์ใบแสดงความจำนงบริจาค ส่งเอกสารมายังศูนย์รับบริ ได้รับใบแสดงความจำนงบริจาคอวั 3. หลังจากที่ท่านได้รับบั 4. กรุณาเก็บบัตรประจำตัวผู้ คุณสมบัติของผู้บริจาคอวัยวะ 1. ผู้บริจาคอวัยวะต้องมีอายุไม่ 2. เสียชีวิตจากสภาวะสมองตายด้ 3. ปราศจากโรคติดเชื้อ และโรคมะเร็ง 4. ไม่เป็นโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน, หัวใจ, โรคไต, ความดันโลหิตสูง, โรคตับ และไม่ติดสุรา 5. อวัยวะที่จะนำไปปลูกถ่ายต้ 6. ปราศจากเชื้อที่ถ่ 7. กรุณาแจ้งเรื่องการบริจาคอวั สถานที่ติดต่อ ศูนย์รับบริจาคอวั อาคารเทิดพระเกียรติสมเด็ ถ.อังรีดูนังต์ ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. 1666 |
บริจาคดวงตา
คุณประโยชน์
ช่วยผู้ป่ วยกระจกตาพิการ ซึ่งอาจแบ่งเป็น
- กระจกตาขุ่นเป็นฝ้าขาว เช่น เป็นแผลเป็น หรือกระจกตาบวมจากอุบัติเหตุ สารเคมี การติดเชื้อ โรคกระจกตาที่เป็นแต่กำเนิด เป็นต้น
- กระจกตามีความโค้งนูนผิดปกติ
- กรณีฉุกเฉิน เช่น เป็นโรคติดเชื้อรุนแรง ไม่สามารถควบคุมด้วยการใช้ยารั กษาได้ หรือรายที่กระจกตากำลังทะลุ
คุณประโยชน์
ช่วยผู้ป่
- กระจกตาขุ่นเป็นฝ้าขาว เช่น เป็นแผลเป็น หรือกระจกตาบวมจากอุบัติเหตุ
- กระจกตามีความโค้งนูนผิดปกติ
- กรณีฉุกเฉิน เช่น เป็นโรคติดเชื้อรุนแรง ไม่สามารถควบคุมด้วยการใช้ยารั
หรือทะลุแล้ว สาเหตุใดก็ตาม ต้องรีบตัดกระจกตาส่วนที่ติดเชื ้อ แล้วใส่กระจกตาบริจาคแทนที่เพื่ อรักษาดวงตาไว้ก่อน
- ทำเพื่อความสวยงามเป็นการทำให้ ฝ้าขาวที่ตาดำหายไปโดยไม่คำนึ งว่ามองเห็นหรือไม่ วิธีนี้ไม่นิยมทำในเมืองไทย
- ทำเพื่อความสวยงามเป็นการทำให้
เพราะดวงตาบริจาคมีน้อย จำเป็นต้องเก็บไว้ทำการผ่าตั ดให้ผู้ที่ทำแล้วจะทำให้เห็นดี ขึ้นเท่านั้น
ภายหลังถึงแก่
อย่างช้าไม่ควรเกิน 6 ชั่วโมง ถ้าช้าเกินไปดวงตาจะใช้ไม่ได้ และไม่ควรอนุญาตให้ฉีดน้ำยากั นเน่าเปื่อยของศพ ก่อนที่จะผ่าตัดเก็บดวงตา
ขั้ นตอนการแสดงความจำนงอุทิศดวงตา
1. กรอกรายละเอียดในใบแสดงความจำนง อุทิศดวงตาให้ชัดเจน
2. เมื่อศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทย ได้รับใบแสดงความจำนงอุทิ ศดวงตาจากท่านแล้ว ศูนย์ฯจะส่งบัตรประจำตัวให้ ตามที่อยู่ที่ระบุไว้
3. หากย้ายที่อยู่หรือเปลี่ ยนสถานภาพใดๆ กรุณาแจ้งศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย
ข้อควรปฏิบัติ ภายหลังการอุทิศดวงตา
1. แจ้งสมาชิกในครอบครัวหรือญาติ ใกล้ชิดให้รับทราบ
2. เก็บบัตรอุทิศดวงตาไว้กับตัวหรื อในที่หาง่าย
3. ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับดวงตา ควรปรึกษาจักษุแพทย์
สถานที่ติดต่อ
ศูนย์ ดวงตาสภากาชาดไทย
อาคารเทิ ดพระเกียรติสมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฒโน) ชั้น 7
ถนนอังรีดูนั งต์ ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทรศัพท์ 0-2252-8131-9 , 0-2258-8181-9, 0-2256-4039 และ 0-2256-4040
ต่อศูนย์ดวงตา ตลอด 24 ชั่งโมง
E-mail: eyebank@redcross.or.th
ขั้
1. กรอกรายละเอียดในใบแสดงความจำนง
2. เมื่อศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทย ได้รับใบแสดงความจำนงอุทิ
3. หากย้ายที่อยู่หรือเปลี่
ข้อควรปฏิบัติ
1. แจ้งสมาชิกในครอบครัวหรือญาติ
2. เก็บบัตรอุทิศดวงตาไว้กับตัวหรื
3. ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับดวงตา ควรปรึกษาจักษุแพทย์
สถานที่ติดต่อ
ศูนย์
อาคารเทิ
ถนนอังรีดูนั
โทรศัพท์ 0-2252-8131-9 , 0-2258-8181-9, 0-2256-4039 และ 0-2256-4040
ต่อศูนย์ดวงตา ตลอด 24 ชั่งโมง
E-mail: eyebank@redcross.or.th
บริจาคโลหิต
โลหิต เป็นของเหลวสีแดงที่ไหลเวียนอยู ่ภายในหลอดโลหิตในร่างกาย โดยกำลังสูบฉีดของหัวใจ อวัยวะสำคัญที่ทำหน้าที่สร้ างเม็ดโลหิต
คือ ไขกระดูก โลหิตแบ่งได้ 2 ส่วน คือ เม็ดโลหิต ซึ่งมี 3 ชนิด คือ เม็ดโลหิตแดง เม็ดโลหิตขาว เกล็ดโลหิต
ส่วนที่ 2 คือ พลาสมา (Plasma) คือส่วนที่เป็นของเหลวของโลหิ ตที่ทำให้เม็ดโลหิตทั้ งหลายลอยตัว มีลักษณะเป็นน้ำสีเหลือง
ปัจจุบันยังไม่ สามารถหาสารประกอบใด ที่มาใช้ทดแทนโลหิตได้ดี ฉะนั้นเมื่อยามที่ร่างกายเสี ยโลหิตจากอุบัติเหตุ ผ่าตัด
หรือโรคที่จำเป็นต้องรักษาด้ วยโลหิต
จึงจำเป็นต้องรับบริจาคโลหิ ตจากบุคคลหนึ่งเพื่อนำไปให้อี กบุคคลหนึ่ง เพื่อช่วยเหลือชีวิตให้ทันท่ วงที
ความจำเป็นต้องใช้โลหิต
โลหิต 77% ที่ได้รับบริจาคถูกนำไปใช้เพื่ อทดแทนโลหิตที่สูญเสี ยไปในภาวะต่างๆ อาทิ อุบัติเหตุ การผ่าตัด โรคกระเพาะอาหาร การคลอดบุตร ฯลฯ
อีก 23 % เป็นการนำโลหิตไปใช้เฉพาะโรค อาทิ โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย เกล็ดโลหิตต่ำ ฮีโมฟีเลีย เป็นต้น
ความต้องการโลหิต
ความต้องการโลหิต
ปัจจุบันศูนย์บริการโลหิตแห่ งชาติ สภากาชาดไทย ต้องจัดหาโลหิตให้ได้วันละ 1,500 ยูนิต เดือนหนึ่งไม่ต่ำกว่า 42,000 ยูนิต
จึงจะเพียงพอจ่ายให้กับผู้ป่ วยตามโรงพยาบาลต่างๆ ทั่วประเทศ
โดยแบ่งเป็น หมู่โลหิตที่จำเป็นต้องจั ดหาโลหิตในแต่ละวัน ดังนี้คือ
หมู่ A | วันละ | 400 | ยูนิต |
หมู่ B | วันละ | 400 | ยูนิต |
หมู่ O | วันละ | 600 | ยูนิต |
หมู่ AB | วันละ | 100 | ยูนิต |
การบริจาคโลหิต
การบริจาคโลหิต คือการสละโลหิตส่วนเกินที่ร่ างกายยังไม่จำเป็นต้องใช้ เพื่อให้กับผู้ป่วย ซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริจาค
เพราะร่างกายแต่ละคนจะมีปริ มาณโลหิตประมาณ 17-18 แก้วน้ำ ร่างกายใช้เพียง 15-16 แก้วเท่านั้น ส่วนที่เหลือนั้นสามารถบริ จาคให้ผู้อื่นได้
โลหิตสามารถบริจาคได้ทุก 3 เดือน เพราะเมื่อบริจาคโลหิ ตออกไปไขกระดูกจะเป็นส่วนสำคั ญในการสร้างเม็ดโลหิตขึ้ นมาทดแทน
ให้มีปริมาณโลหิตในร่างกายเท่ าเดิม
ถ้าไม่ได้บริจาค ร่างกายจะขับเม็ดโลหิตที่สลายตั ว เพราะหมดอายุออกมาทางปัสสาวะ อุจจาระ
กระบวนการบริจาคโลหิตตั้งแต่เริ ่มลงทะเบียน จนกระทั่งบริจาคโลหิตเสร็จสิ้น ใช้เวลาประมาณ 20 นาที ซึ่งเจ้าหน้าที่จะเลือกเจาะโลหิ ตที่เส้นโลหิตดำ
บริเวณแขน แล้วเก็บโลหิตบรรจุในถุงพลาสติก (BLOOD BAG) ตั้งแต่ 350-450 มิลลิลิตร (ซี.ซี.) ขึ้นอยู่กับน้ำหนักของผู้บริจาค
รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.blooddonationthai.com
รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.blooddonationthai.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น